Page 47 - BookHISTORYFULL.indb
P. 47
�
หัวข้อสาคัญ ท่เป็นกรอบความคิด การจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเรียนรู้สาระประวัติศาสตร์
ี
ดังนี้
๑. เวลาและช่วงสมัยทางประวัติศาสตร์
๒. วิธีการทางประวัติศาสตร์
๓. พัฒนาการของมนุษยชาติ
๔. เหตุการณ์ส�าคัญที่แสดงความเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ
๕. ความเป็นมาของชาติไทย
๖. บุคคลส�าคัญของไทย
๗. วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
(กรมวิชาการ, ๒๕๔๖ : ๔-๖)
ื
ั
ความรู้ความเข้าใจว่าด้วยหลักสูตรการศึกษาข้นพ้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
ื
ั
และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นพ้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
แนวคิดในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท่อยู่ในกลุ่มวิชาสังคมศึกษา
ี
มีมาอย่างต่อเน่อง ต้งแต่หลักสูตรประถมศึกษา ๒๕๒๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๓๓)
ื
ั
ประวัติศาสตร์อยู่ในกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น
พุทธศักราช ๒๕๒๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๓๓) และหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย
พุทธศักราช ๒๕๒๔ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๓๓) ประวัติศาสตร์อยู่ในกลุ่มสังคมศึกษา
�
�
ี
ทาให้เกิดปัญหาการจัดการเรียนรู้หลายประการ ท่สาคัญคือนักเรียนจะต้องเรียนหลายอย่าง
แต่มีความรู้น้อย ดังนี้ ดร.เอกวิทย์ ณ ถลาง ได้เสนอความคิดในเรื่องนี้ว่า
ี
ึ
“ในมิติท่เราพยายามจะบูรณาการเอาเร่องใกล้ตัวให้รู้ก่อน แล้วรู้แตกฉานมากข้น
ื
เรื่อยๆ นั้น ก็ยังมีจุดอ่อนอยู่ตรงที่เราพยายามให้เด็กรู้หลายอย่างเกินไป จนเป็นหลักสูตร
ื
ื
ื
ึ
ี
“หวังดี” น่คือข้อสังเกตประเด็นท่หน่ง เรากลัวว่าเด็กจะไม่รู้เร่องเพ่อนบ้านของเรา ไม่รู้เร่อง
ี
โลกของเรา จึงพยายามจัดเนื้อหาทุกอย่าง ดูประหนึ่งว่าเอาความรู้ระดับมหาวิทยาลัยมา
บรรจุให้เด็กมัธยมเรียน จริงอยู่ถ้าถือตามทฤษฎีของ Jerome Bruner นักการศึกษาและ
นักจิตวิทยาชั้นเยี่ยมคนหนึ่ง ซึ่งมีความเห็นว่าสิ่งที่บ้านเมืองเห็นว่าจ�าเป็นและส�าคัญที่ควร
เรียน ก็สามารถจัดเน้อหาให้เหมาะสมกับระดับวุฒิภาวะของผู้เรียน แต่ประเด็นปัญหาไม่ได้
ื
จบลงเพียงนั้น เพราะความปรารถนาดีของเราท�าให้เนื้อหาแน่นมาก เมื่อแน่นมาก ผู้สอนก็
ใช้ความเคยชินเดิม คือสอนรายละเอียดให้หมดเท่าที่จะพึงกระท�า และต้องสอบให้หมดทุก
ี
ื
เร่อง จึงหนีไม่พ้นต้องออกข้อสอบแบบปรนัย ในท่สุดก็เป็นการเรียนการสอนท่ไร้วิญญาณ
ี
45