Page 42 - BookHISTORYFULL.indb
P. 42

หลักสูตรพุทธศักราช ๒๕๐๓ ได้นาแนวคิดทางด้านการศึกษาและปรัชญา
                                              �
          การศึกษาทางตะวันตกมาใช้ แบ่งเป็นระดับประถมศึกษาตอนต้น ๔ ปี ระดับประถมศึกษา
          ตอนปลาย ๓ ปี มัธยมศึกษาตอนต้น ๓ ปี (ม.ศ. ๑-๓) และมัธยมศึกษาตอนปลาย ๓ ปี
                                                                       ื
          (ม.ศ. ๔-๖) รูปแบบของหลักสูตรเป็นแบบ Broad Fields Curriculum คือ เน้อหาวิชา
          มีลักษณะผสมผสานบูรณาการกันมากขึ้น โดยรวมวิชาต่างๆ ที่ใกล้เคียงกันเป็นหมวดวิชา

          ด้วยเหตุดังกล่าว การเรียนรู้ประวัติศาสตร์จึงเป็นเน้อหาท่บูรณาการในกลุ่มสังคมศึกษา
                                                      ี
                                                  ื
          ซึ่งการเรียนรู้ในกลุ่มวิชาได้ปรับปรุงใน พ.ศ. ๒๕๒๐ โดยกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศ
          ใช้หลักสูตรหมวดวิชาสังคมศึกษาใหม่ทั้ง ๓ ระดับคือ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น
          และมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยให้หมวดวิชาสังคมศึกษาในหลักสูตรประโยคประถมศึกษา

          แบ่งเป็น ๓ เรื่อง คือ ประชาธิปไตย สถาบันกับความมั่นคงและความอยู่รอดของชาติ ระดับ
                                                             ี
          มัธยมศึกษาแบ่งเป็น ๓ กลุ่มวิชา คือ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าท่พลเมืองและศีลธรรม
                ั
           ่
                                                                  ั
                   ั
                       ึ
                                              ุ
                                                                           ้
          สวนระดบมธยมศกษาตอนปลายแบงเป็น ๔ กลมวิชา คือ ภูมิศาสตร ประวติศาสตร หนาท ี ่
                                              ่
                                                                        ์
                                                             ์
                                     ่
          พลเมืองและศีลธรรม
                 ในแผนพัฒนาการศึกษาของชาติ พุทธศักราช ๒๕๒๐ ได้ปรับระบบการศึกษา
          เป็นประถมศึกษา ๖ ปี มัธยมศึกษาตอนต้น ๓ ปี และมัธยมศึกษาตอนปลาย ๓ ปี จึงได้
          มีการพัฒนาหลักสูตรอย่างเป็นระบบโดยอาศัยผลการวิจัย การวิเคราะห์แนวทางการจัดการ
                             ั
          ศึกษาของประเทศต่างๆ ท่วโลก และความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิทุกสาขา  หลักสูตรฉบับ
          ปรับปรุงใหม่นี้ประกอบด้วย
                                                                     �
                                                                    ี
                                                       ึ
                 หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช ๒๕๒๑ ซ่งเป็นหลักสูตรท่คานึงถึงการ
          ด�าเนินชีวิตในสังคม โดยจัดเนื้อหาสาระเป็นมวลประสบการณ์ ๔ กลุ่ม ประกอบด้วย
                 (๑) กลุ่มทักษะ (รวมภาษาไทย และ คณิตศาสตร์)
                                                  ื
                               ิ
                 (๒) กลุ่มสร้างเสรมประสบการณ์ชีวต หรอกลุ่ม สปช. (รวมวชาสังคมศกษา
                                                                  ิ
                                             ิ
                                                                          ึ
          วิทยาศาสตร์ และสุขศึกษา โดยบูรณาการกันเป็นหน่วยการเรียนรู้ต่างๆ)
                 (๓) กลุ่มสร้างเสริมลักษณะนิสัย หรือกลุ่ม สลน. (รวมวิชาจริยศึกษา พลศึกษา
          ศิลปศึกษา ดนตรีนาฏศิลป์ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด)
                                  ื
                 (๔) กลุ่มการงานและพ้นฐานอาชีพ หรือกลุ่ม กพอ. และ กลุ่มประสบการณ์พิเศษ
          (ภาษาอังกฤษ และวิชาอาชีพ)
                 หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช ๒๕๒๑ แบ่งออกเป็น ๕ กลุ่มวิชาคือ
                 (๑) กลุ่มวิชาภาษา (ภาษาไทย และ ภาษาต่างประเทศ)

                 (๒) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
                 (๓) กลุ่มวิชาสังคมศึกษา




    40
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47