Page 44 - BookHISTORYFULL.indb
P. 44

ี
                                    ั
          เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง รวมท้งปรับเปล่ยนวัฒนธรรมการเรียนรู้ เจตคติ ความคิด
               ื
                                                                       ื
          ความเช่อและพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ พ่อแม่ผู้ปกครอง ส่อมวลชน
          และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
                                    ื
                                               ั
                                    ้
                   ั
                 หลกสตรการศกษาข้นพนฐาน พทธศกราช ๒๕๔๔ เป็นหลักสูตรแกนกลาง
                      ู
                                 ั
                             ึ
                                           ุ
          ระดับชาติ ครอบคลุม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่อความเป็น
                                                                     ื
          เอกภาพแต่มีความหลากหลายในทางปฏิบัติ
                 สาระส�าคัญของหลักสูตร คือ เป็นหลักสูตรต่อเนื่อง ๑๒ ปี ตั้งแต่ระดับประถม
                                                                        ั
          ศึกษาจนถึงมัธยมการศึกษาตอนปลาย แบ่งเป็น ๔ ช่วงช้นๆ ละ ๓ ปี คือช่วงช้นท่๑ :
                                                                           ี
                                                      ั
          ประถมศึกษาปีที่ ๑-๓   ช่วงชั้นที่ ๒ : ประถมศึกษาปีที่ ๔-๖ ช่วงชั้นที่ ๓ : มัธยมศึกษา
          ปีที่ ๑-๓ ช่วงชั้นที่ ๔ : มัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ และเป็นหลักสูตรที่ใช้มาตรฐานการเรียนรู้
          เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์  มีคุณภาพทั้งด้านความรู้
          ทักษะ เจตคติ ค่านิยม คุณธรรมและจริยธรรม โดยโครงสร้างหลักสูตรประกอบด้วย
          ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ (๑) ภาษาไทย (๒) คณิตศาสตร์ (๓) วิทยาศาสตร์
          (๔) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (๕) สุขศึกษา และพลศึกษา (๖) ศิลปะ
          (๗) การงานอาชีพและเทคโนโลยี และ (๘) ภาษาต่างประเทศ
                 จะเห็นว่าการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในหลักสูตรการศึกษาข้นพ้นฐาน ๒๕๔๔
                                                                ั
                                                                   ื
                                                                        ั
          เป็นส่วนหน่งของกลุ่มสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซ่งในระดับมัธยมศึกษาน้น ถอว่า
                                                      ึ
                                                                           ื
                  ึ
          ไม่ได้แตกต่างจากหลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๓๓ แต่ส�าหรับระดับประถมศึกษานั้น
          มีนัยที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากพอสมควร เพราะในกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและ
          วัฒนธรรมนี้จะประกอบด้วยสาระ  (๑) ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม  (๒) หน้าที่พลเมือง
          วัฒนธรรม และการด�าเนินชีวิต   (๓) เศรษฐศาสตร์    (๔) ประวัติศาสตร์   (๕) ภูมิศาสตร์

          (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๔ : ๘)
                 ต่อมาได้มีการประเมินผลการใช้หลักสูตร พบว่า หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
          พุทธศักราช ๒๕๔๔ ยังมีความไม่ชัดเจนของหลักสูตรหลายประการท้งในส่วนของเอกสาร
                                                              ั
                                                          ่
                                             ิ
                                              ั
                                                                         ั
                                                          ี
                                                        ิ
                                                ิ
                                                            ิ
                                   ู
            ั
                             �
                                 ั
          หลกสูตร กระบวนการนาหลกสตรส่การปฏบตและผลผลตทเกดจากการใช้หลกสูตร
                                       ู
          ประกอบกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔)
             ี
                       �
                                       ี
          ได้ช้ให้เห็นความจาเป็นในการปรับเปล่ยนจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยให้
                                                          ั
          มีคุณธรรมและมีความรอบรู้อย่างเท่าทัน ให้มีความพร้อมท้งด้านร่างกาย สติปัญญา
                                                                          ้
                                                                            ่
          อารมณและศีลธรรม สามารถกาวทนการเปลยนแปลงเพอนาไปสสงคมฐานความรไดอยาง
                                                                        ้
                                                                        ู
                                                    ่
                                 ้
                                                       �
                                                    ื
                                            ี
                                            ่
                                    ั
                                                           ่
                                                            ั
               ์
                                                           ู
           ั
          ม่นคง เป็นผลให้มีการปรับปรุงหลักสูตร พ.ศ. ๒๕๔๔ มาเป็นหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
          ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
    42
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49