Page 49 - BookHISTORYFULL.indb
P. 49

ประกอบกับกระแสสังคมให้ความสนใจการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ดังปรากฏ

                                                        ื
                     บทความในหนังสือพิมพ์รายวันหลายฉบับต่อเน่องกันที่แสดงความห่วงใยและความต้องการ
                     ให้กระทรวงศึกษาธิการเน้นการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ไทยในสถานศึกษา โดยกาหนด
                                                                                    �
                                ี
                                          ื
                                       ึ
                     เป็นหลักสูตรท่เข้มข้นข้นเพ่อให้นักเรียนตระหนักและเกิดความรัก และภาคภูมิใจในชาต ิ
                     เพิ่มมากขึ้น
                            นอกจากน้ยังได้มีหนังสือกราบเรียน ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ผ่านทางระบบ
                                    ี
                     “โฮมเพจสายตรง นายกรัฐมนตรี (นายชวน หลีกภัย)” เสนอข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการศึกษา
                           ิ
                                                        ่
                         ั
                                                        ื
                                   ี
                     ประวตศาสตร์ มข้อความว่า “ตงแต่เกดเรองการเรียกร้องประชาธปไตย เกิดนมต
                                                ้
                                                     ิ
                                                ั
                                                                            ิ
                                                                                        ิ
                                                                                      ิ
                                                  ี
                                          �
                     พระสุพรรณกัลยา ฯลฯ ทาให้เป็นท่วิจารณ์กันว่าหลักสูตรการศึกษาของไทยละเลย
                     วิชาประวัติศาสตร์ไป  ควรให้มีวิชาประวัติศาสตร์โดยเฉพาะและบรรจุเน้อหาน้น
                                                                                        ั
                                                                                  ื
                     ลงในวิชานั้นด้วย อันที่จริง ไม่มีอะไรที่ไม่มีประวัติศาสตร์ กระผมจึงเห็นว่าไม่จ�าเป็นต้องมี
                                                                  ื
                     วิชาประวัติศาสตร์แยกเป็นวิชาเฉพาะต่างหาก แต่บรรจุเน้อหาประวัติศาสตร์ของเนื้อหา
                                               �
                                                                            �
                     วิชาอ่นทุกวิชาลงไปด้วย น่าจะทาให้รู้สึกว่าประวัติศาสตร์มีความสาคัญมากย่งกว่า
                         ื
                                                                                    ิ
                                           ี
                                               ็
                                                                               ั
                                                       ั
                                                                             �
                                                                                        ิ
                                                                                        ่
                                     �
                     แยกเฉพาะ เพราะทาให้ผ้เรยนเหนว่าประวติศาสตร์เป็นองค์ประกอบสาคญของทุกสง
                                         ู
                     เป็นตัวอย่างเหตุการณ์ที่จะน�ามาใช้ น�ามาพัฒนาในวิชานั้นๆ อย่างใกล้ชิด เป็นหน้าที่ของ
                                                                                     �
                                                            ื
                     ครูทุกวิชาต้องสอนประวัติศาสตร์ด้วย แทรกในเน้อหาวิชาของตนอย่างให้มีความสาคัญ
                                                                                   �
                                                       ื
                     การวัดผลต้องวัดด้านประวัติศาสตร์ของทุกเน้อหาด้วย” (กระทรวงศึกษาธิการ,  สานักงาน
                     ปลัดกระทรวง, ๒๕๔๓ : ๑)
                            ด้วยเหตุผลดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ปรับปรุงหลักสูตร โดยมอบหมาย
                     ให้กรมวิชาการแยกวิชาประวัติศาสตร์ไทยออกมาเป็นวิชาเฉพาะ โดยในระดับประถมศึกษา
                                                              ี
                     ให้บรรจเนอหาในภาพรวมของประวตศาสตร์ไทยทมรายละเอยดความลกซงตามระดบ
                                                             ี
                                                                                        ั
                                                                                ้
                                                                                ึ
                                                                     ี
                                                                              ึ
                                                  ั
                            ุ
                                                   ิ
                                                             ่
                             ื
                             ้
                     ที่เหมาะสม ส่วนในระดับมัธยมศึกษาได้ก�าหนดเป็นวิชาบังคับที่นักเรียนทุกคนต้องเรียน
                            เดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๒ กระทรวงศึกษาธิการได้ลงนามในคาส่งปรับปรุง
                                                                                 ั
                                                                               �
                       ิ
                     เพ่มเติมรายวิชาประวัติศาสตร์ในหลักสูตรประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้นและ
                                                                                        ั
                                            �
                     มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยกาหนดให้มีการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ไทยทุกระดับช้น
                     ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๔๓ เป็นต้นไป สาระส�าคัญสรุปได้ดังนี้
                                    ั
                            ในระดับช้นประถมศึกษาปีท่ ๑-๒ ให้นักเรียนได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์จากโบราณ
                                                  ี
                                     ี
                     สถาน โบราณวัตถุท่มีอยู่ในปัจจุบันในท้องถ่นของนักเรียน เช่น วัด อนุสรณ์สถาน
                                                         ิ
                     เจดียสถาน เป็นต้น
                            ในระดับประถมศึกษาปีที่ ๓-๔ และ ๕-๖ ให้นักเรียนได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์
                     ตั้งแต่ภูมิหลังการตั้งถิ่นฐานของบ้านเมืองในดินแดนประเทศไทยจนถึงปัจจุบัน โดยสังเขป
                                                                                            47
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54