Page 50 - BookHISTORYFULL.indb
P. 50

ี
                                                           �
                                              ู้
           ึ
          ซ่งเป็นการศกษาประวัติศาสตร์ในภาพกว้าง ท่ผสอนจะสามารถนาไปจัดกิจกรรมการเรียน
                   ึ
                                                 ั
          การสอนได้หลากหลาย น่าสนใจ และสนุกสนาน ท้งน้เพ่อเสริมสร้าง เจตคติ ให้เยาวชน
                                                     ื
                                                   ี
          ของชาติมีจิตส�านึกและภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทยเพิ่มมากขึ้น
                                                                         ิ
                 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หลักสูตรประวัติศาสตร์ฉบับปรับปรุงได้เพ่มเติม
          รายวิชาประวัติศาสตร์ไทยเป็นวิชาบังคับเลือกในกลุ่มวิชาสังคมศึกษา รวม ๓ วิชา คือ
                                 ั
                                   ิ
          ส ๐๒๘ ประวัติศาสตร์การต้งถ่นฐานในดินแดนประเทศไทย ส ๐๒๙ ประวัติศาสตร์
                  ั
                                                         ั
          ความสัมพนธ์ระหว่างประเทศของไทยและ ส ๐๒๑๐ ประวติศาสตร์ยคประชาธปไตย
                                                                         ิ
                                                                 ุ
                                 �
          โดยกระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดเป็นนโยบายให้สถานศึกษาจัดให้นักเรียนทุกคน
          ที่เริ่มเข้าศึกษาในปีการศึกษา ๒๕๔๓ ได้เรียนประวัติศาสตร์ไทยเพิ่มขึ้นและอย่างต่อเนื่อง
          ตลอดทุกปีการศึกษา
                 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรประวัติศาสตร์ฉบับปรับปรุงได้จัดรายวิชา
          เลือกเสรี ๖ รายวิชา ที่มีเนื้อหาประวัติศาสตร์ (ตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ.
                                             �
                                                            ี
          ๒๕๒๔ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๓๓) โดยกาหนดเป็นรายวิชาท่นักเรียนต้องเลือกเรียน
          อย่างน้อย ๑ รายวิชา ส�าหรับนักเรียนชั้น ม.๔ ที่เข้าเรียนตั้งแต่ปีการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๓
          เป็นต้นไป โดยเน้นให้ผู้เรียน ได้ศึกษาค้นคว้าด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ ทั้งนี้ เนื่องจาก
          นักเรียนในระดับนี้จะต้องเรียนวิชาที่จ�าเป็นส�าหรับการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
                                                      ี
                 จะเห็นว่ากระทรวงศึกษาธิการ  ได้พยายามท่จะพัฒนาการจัดการเรียนรู้
          ประวัติศาสตร์ โดยได้ปรับปรุงหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช ๒๕๒๑ (ฉบับปรับปรุง
          พ.ศ. ๒๕๓๓) หลักสูตรมัธยมศึกษา ตอนต้นพุทธศักราช ๒๕๒๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
          ๒๕๓๓) และหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช ๒๕๒๔ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
          ๒๕๓๓) โดยปรับปรุงหลักสูตรให้เพ่มเติมรายวิชาประวัติศาสตร์ในหลักสูตรทุกระดับสาระ
                                     ิ
           ี
          ท่ปรับปรุงประวัติศาสตร์ดังกล่าวน้ใช้ในการเรียนการสอนต่อมาจนถึงการประกาศ
                                      ี
          ใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
                 เมื่อกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
                                                          ี
                                                             �
                                     ื
                          �
                                                                          ิ
          ๒๕๔๔ ก็ได้มีการนาแนวคิดและเน้อหาสาระประวัติศาสตร์ ท่ได้กาหนดให้เรียนเพ่มข้น
                                                                            ึ
          ในหลักสูตรฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๓๓ มาบูรณาการในมาตรฐานการเรียนรู้
              ั
          ช่วงช้นในระดับต่าง ๆ ดังรายละเอียดการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ สาระประวัติศาสตร์
          ส ๔.๑ – ส ๔.๓ ดังนี้








    48
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55