Page 41 - BookHISTORYFULL.indb
P. 41

หลักสูตรหลวง พ.ศ. ๒๔๕๖ มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างหลักสูตรเป็นประถม

                     ศึกษา ๕ ปี และระดับมัธยมศึกษา ๘ ปี ส่วนเน้อหาการเรียนยังคงเหมือนหลักสูตร
                                                             ื
                                                          ้
                                         ่
                                                                          ่
                     พ.ศ. ๒๔๕๔ เปนสวนใหญ โดยเพิ่มวิชาลูกเสือเขามาในหลักสูตรตั้งแตระดับประถมศึกษา
                                   ่
                                 ็
                                                                   ี
                            หลักสูตรสามัญศึกษา พ.ศ. ๒๔๖๔ มีการปรับเปล่ยนโครงสร้างหลักสูตรสามัญ
                     ศึกษาใน พ.ศ. ๒๔๖๔ และพ.ศ. ๒๔๖๗ แต่เนื้อหาการเรียนยังคงเหมือนเดิม
                            หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ. ๒๔๗๑ มีการเปล่ยนโครงสร้างหลักสูตร
                                                                        ี
                     มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยแบ่งออกเป็น ๓ แผนกคือ แผนกกลาง แผนกภาษา และแผนก
                     วิทยาศาสตร์ โดยให้แผนกกลางและแผนกภาษาเรียนประวัติศาสตร์ หรือ ภูมิศาสตร์ อย่าง
                     ใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ส่วนแผนกวิทยาศาสตร์ไม่ได้ก�าหนดให้เรียนประวัติศาสตร์

                                          ี
                            ภายหลังการเปล่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ ได้มีการประกาศใช้
                     แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. ๒๔๗๕ ทาให้ขยายการศึกษาภาคบังคับออกไปมากย่งข้น
                                                                                        ึ
                                                                                     ิ
                                                   �
                     ในประมวลศึกษาภาค ๒ พ.ศ. ๒๔๘๐ ก�าหนดให้หลักสูตรชั้นประถมศึกษา นักเรียนจะ
                                                     ั
                     ได้เรียน “ความรู้เร่องเมืองไทย” หลักสูตรช้นมัธยมต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียน
                                   ื
                     จึงได้เรียนประวัติศาสตร์
                            หลักสูตรประถมศึกษาและหลักสูตรเตรียมอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๔๙๑ ก�าหนด
                     ให้นักเรียนระดับประถมศึกษาเรียนวิชาประวัติศาสตร์ ส่วนนักเรียนเตรียมอุดมศึกษา
                                                                       ั
                                     ่
                                                                                  ิ
                                                            ื
                                                         ิ
                                                                           ึ
                     กาหนดใหนกเรยนแตละแผนกเรียน  ๕ หมวดวชา คอ ภาษาไทย สงคมศกษา คณตศาสตร  ์
                              ั
                             ้
                      �
                                 ี
                     ภาษาอังกฤษและวิชาเฉพาะแผนก
                            จะเห็นว่า หลักสูตร พ.ศ. ๒๔๙๑ หลักสูตรก�าหนดให้มี หมวดวิชาสังคมศึกษา
                     ซึ่งมีรายวิชา ๔ วิชา คือ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม ภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์ ต่อมาได้
                     มีการปรับปรุงโครงสร้างการจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ใน พ.ศ. ๒๔๙๓ เป็น
                     มัธยมศึกษาตอนต้น ๓ ปี มัธยมศึกษาตอนปลาย ๓ ปี
                                         ื
                            การบูรณาการเน้อหาวิชาเป็นหมวดหมู่ เห็นได้ชัดเจนในหลักสูตรประถมศึกษา
                     และหลักสูตรอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๔๙๘ ที่มีจุดเน้นองค์ ๔ ของการศึกษา คือ จริยศึกษา
                     พุทธิศึกษา พลศึกษา และหัตถศึกษา หลักสูตรฉบับนี้เน้นการเป็นหลักสูตรที่มีการพัฒนา
                     มากที่สุด คือ ปรับเปลี่ยนรูปแบบจากหลักสูตรรายวิชา Subject Curriculum เป็น Broad
                     Fields Curriculum แบ่งเป็น ๕ หมวดวิชา คือ หมวดภาษาไทย หมวดเลขคณิต หมวด
                     ธรรมชาติศึกษา (รวมสุขศึกษา) หมวดสังคมศึกษา และกิจกรรมพิเศษ
                            หลักสูตรดังกล่าวนี้ได้มีการปรับปรุงใน พ.ศ. ๒๕๐๑ โดยเพิ่มอีก ๑ หมวดวิชา

                     คือ พลานามัย รวมสุขศึกษาและพลศึกษาเข้าไว้ในหมวดเดียวกัน






                                                                                            39
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46