Page 76 - 40 ปี มูลนิธิเด็ก
P. 76
ื
บทความเร่อง “การคลังของการประถมศึกษาและการมัธยมศึกษา” ในวารสาร
“ปาจารยสาร” ฉบับที่ ๑๐ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๑๗ ที่ผมเป็นสาราณียกร
ั
โรงเรียนทางเลือกน้นได้แสดงแนวทางการศึกษาของตัวเอง เป็นตัวปรัชญาการ
ี
ศึกษาในรูปแบบต่างๆ ทำาให้เด็กมีทางเลือกมากข้น ว่าตนเองเหมาะท่จะเรียนรู้ใน
ึ
ปรัชญาแบบไหน ที่ตรงกับความต้องการของตนที่จะพัฒนาตนเอง
ี
คนท่วไปคิดว่าโรงเรียนหมู่บ้านเด็กเป็นโรงเรียนสังคมสงเคราะห์ท่รับเด็กยากจน
ั
ท่จริงเราทำาให้หมู่บ้านเด็กเป็นหัวหอกการปฏิวัติการศึกษาโดยประชาชน จนเกิด
ี
้
ึ
ี
ื
ั
ี
ี
็
ี
่
ึ
ั
โรงเรยนทางเลอกขน และคนทตระหนกถงความล้มเหลวของโรงเรยนรฐ กมทางออก
ี
ี
ื
ั
้
ื
ี
ี
ู
่
ให้ลกหลานของตวเอง โดยการตงโรงเรยนทางเลอก หรอโรงเรยนในบ้าน ทเรยกว่า
ั
“Home School” เฉพาะลูกของตัวเองที่ไม่มีความพร้อมไปเรียนหนังสือในโรงเรียน
ี
การศึกษาทางเลือกก่อให้เกิดโรงเรียนทางเลือก ท่มีความเป็นเสรีในการเรียนรู้
ื
ี
ั
ของเด็ก มีการนำาปรัชญาการศึกษาแบบต่างๆ ท่วโลกท่เอ้อต่อการเรียนรู้อย่างอิสระมา
จัดการเรียนการสอน เด็กที่อยู่ในโรงเรียนแบบนี้มีความสุข ความสุขที่จะได้เรียนตามที่
่
ำ
ั
ตนเองต้องการ ไม่ว่าเด็กเหล่าน้นจะเรียนรู้ช้า เป็นออทิสติก หรือมี IQ ตากว่า ๑๐๐
หรือมีปัญหาทางอารมณ์ เด็กในโรงเรียนทางเลือกล้วนมีความสุขในการเรียนรู้ไปตาม
ปัจจัยภายในของตนอย่างมีความสุข เขาไม่ต้องเรียนในเร่องท่ตัวเองไม่ถนัด ไม่มีการ
ื
ี
บังคับหรือการใช้อำานาจใดๆ แบบในห้องเรียนทั่วไปของรัฐ ไม่มีการแข่งขัน
การสอบเป็นเรื่องเล่นๆ ที่จะปรับความรู้ของตัวเอง ว่าจะไปเริ่มเรื่องใดที่ไหน
ครูในห้องเรียนของโรงเรียนทางเลือกจะใช้ “ความรัก” มาแทนการใช้ “อำานาจ”
ใช้การเชิญชวนให้เรียนรู้ มาแทนการบังคับให้รู้ ความสุขจะเป็นตัวช้วัดการ
ี
พัฒนาการเรียนรู้ของเด็กๆ ไม่ใช่ตัวคะแนนสอบ
ไม่ต้องมาถามว่าเด็กเหล่านี้จะอยู่ร่วมกับคนอื่นๆ ในสังคมได้อย่างไร เพราะคน
ี
ี
ี
ท่มีความสุขสามารถจะอยู่ร่วมกับคนท่ไม่มีความสุขได้มากกว่าคนท่มีความเกลียดชัง
74