Page 72 - 40 ปี มูลนิธิเด็ก
P. 72
่
ำ
้
ปาเขา แม่นา งาน สคส. ทั้งหมด ทุกๆ ปี ล้วนเป็นงานศิลปะที่เกิดจากจินตนาการของ
ี
เด็กรุ่นแล้วรุ่นเล่า โดยทำางานร่วมกับศิลปินและนักออกแบบ ท่วนเวียนมาฝึกให้เด็กของเรา
เราพบว่าจินตนาการบนฐานของเสรีภาพ มันแสดงออกในงานภาพ สคส. และ
บาติก กับละครที่แสดงร่วมกับศิลปินระดับประเทศ
พูดถึง “แม่นา” แล้ว คนท่วไปอาจจะเห็นเป็นเร่องธรรมดา เพราะคนไทยเกิด
ื
ั
ำ
้
ำ
้
มาจากสายนา ทั้งประเทศเรามีนาหลาก นาฝน อยู่เกือบครึ่งปี แต่กับหมู่บ้านเด็กแล้ว
ำ
ำ
้
้
ี
ั
ึ
้
เราถือว่าแม่นา คือส่วนหน่งของแบบผังโรงเรียน ท่ต้องต้งอยู่ริมแม่นา ท่มีภูเขาล้อมรอบ
ี
ำ
้
ำ
พร้อมป่า แต่เราได้ภูเขา ได้แม่นา แต่ไม่ได้ป่า เราจึงเนรมิตป่าด้วยมือของเราเอง
้
ำ
ื
ี
เพียง ๓๐ ปี หมู่บ้านเด็กจึงล้อมรอบไปด้วยป่าเขา ท่เคยถูกหักร้างถางพงเพ่อทำาไร่อ้อย
จากละครเพลง “ฉันจะปลูกต้นไม้” ของอาจารย์บรูซ แกสตัน เราก็เร่มลงมือ
ิ
ปลูก ปลูกทุกปี
จนกลายเป็นป่าบนเน้อท่ ๒๐๐ ไร่ ท่ล้อมรอบบ้านหลายสิบหลังของหมู่บ้านเด็ก
ี
ื
ี
้
ำ
นอกจากเสรีภาพ ความรัก นาในแม่นา และต้นไม้รอบๆ ตัวเด็ก ก็มีส่วน
ำ
้
เปล่ยนแปลงด้านอารมณ์ของเด็กเหล่าน้ โดยไม่ต้องอาศัยความรู้ทางจิตวิทยาเพียงอย่าง
ี
ี
เดียว
ี
วันน้ เด็กหมู่บ้านเด็กถูกเช่อมโยงกับเด็กบ้านทานตะวัน ท่เป็นบ้านของเด็กท่ถูก
ี
ื
ี
ี
ิ
ทอดท้งความรู้เร่องเด็กสมัยใหม่ ถูกนำามาใช้กับเด็กบ้านทานตะวันอย่างเต็มท่ โดยม ี
ื
ื
ผู้ชำานาญการจากมหาวิทยาลัยมหิดลลงมาช่วย ไม่ว่าจะเป็นสถาบันแห่งชาติเพ่อการ
พัฒนาเด็กและครอบครัว คณะกายภาพบำาบัด หรือสถาบันดนตรีของวิทยาลัย
ดุริยางคศิลป์ ก็ตาม
ื
ี
ี
เม่อเด็กโตไปอยู่ในโรงเรียนอนุบาลของเรา ท่น่เราใช้วิธีการพัฒนาเด็กของแพทย์หญิง
มอนเตสซอรี่ จนจบอนุบาลจึงส่งต่อไปเรียนที่หมู่บ้านเด็ก
70