Page 74 - 40 ปี มูลนิธิเด็ก
P. 74
ึ
ื
ึ
่
คนหนงโตมาจากห้องทอผ้า ช่อสาว ก็มาดูแลห้องเย็บปักถักร้อย คนหน่งช่อนิดก ็
ื
ดูแลงานบาติก
ก่อนหน้านั้นมีคนหนึ่งดูแลห้องมัดย้อม ชื่อวิภา
ี
ความสืบเน่องของเด็กท่เคยเรียนหมู่บ้านเด็ก ได้มาทำางานท่หมู่บ้านเด็ก อนุบาล
ี
ื
ี
ี
และบ้านทานตะวัน เด็กท่โตมากับเรา จะเข้ากับเด็กท่มาจากหลากหลายปัญหาได้ด ี
ี
เพียงเติมความรู้การเล้ยงดูเด็กสมัยใหม่เข้าไป เขาก็มีความสุขกับการทำางานกับเด็ก
ที่โตมาแบบเดียวกับเขา รู้ใจเด็กที่มาจากครอบครัวยากจน
ั
ู
ึ
ื
้
ู
ี
กลบมาพดถงแรงจงใจทางการเมองในการตงหม่บ้านเดกกนดกว่า แรงจงใจ
ู
ู
ั
ั
็
ี
ทางการเมืองน้นไม่ใช่การเมืองแบบนักการเมืองท่วไปท่ต้องการเข้าสู่อำานาจบริหาร
ั
ั
ประเทศ ที่ผมเรียกว่า “การเมืองกระแสหลัก” แต่การเมืองในที่นี้หมายถึง “การเมือง
ี
ภาคประชาชน” ท่เพ่มอำานาจให้ประชาชนมีอำานาจต่อรองกับรัฐ ต่อรองกับทุน ท่คุม
ี
ิ
ประเทศนี้อยู่ และใช้ทรัพยากรไปกับกลุ่มของตนเอง ซ่งมีอยู่ราว ๑๐% ของคนท้ง
ั
ึ
ประเทศ จึงได้เกิดความเหลื่อมลามายาวนาน ก่อนที่ผมจะตั้งโรงเรียนหมู่บ้านเด็กเมื่อ
ำ
้
๔๐ ปีที่แล้วเสียอีก
อำานาจทุน อำานาจรัฐ ใช้การศึกษาผ่านระบบโรงเรียนให้ควบคุมเด็กๆ จนถึง
ระดับนิสิตนักศึกษา
ให้คิดอยู่ในกรอบของรัฐเท่านั้น โดยผ่านแบบเรียนและหลักสูตรแอบแฝงที่ผ่าน
ตัวครูและระบบโรงเรียน
ี
ลักษณะเด่นของโรงเรียนกระแสหลักท่ควบคุมด้วยระบบราชการ คือ มีความเป็น
ี
ี
“อำานาจนิยม” สูง ท่เป็นลักษณะเด่นและจัดความสัมพันธ์แบบ “ศักดินา” ท่ล้าหลัง
ี
มีหลักสูตรตายตัวท่กำาหนดมาจากส่วนกลาง โดยกระทรวงศึกษาธิการ เด็กท่จบจาก
ี
โรงเรียนของรัฐจะเป็นเด็กที่อ่อนแอทางความคิดความอ่าน ยอมจำานนกับอำานาจต่างๆ
ได้ง่าย มีความเป็นอนุรักษนิยมสูง
72