Page 70 - 40 ปี มูลนิธิเด็ก
P. 70
ี
ี
ี
ี
ั
ผมกับแอ๊วใช้วิธีน้กับการเล้ยงดู “เข้ม” เด็กชายท่เรานำามาเล้ยงต้งแต่ ๒๐ วัน
ิ
ี
ื
ี
ี
แรกท่ถูกท้งไว้ท่โรงพยาบาล และดูแลเด็กออทิสติก ท่ช่อ “โลตัส” ท่ชอบมานัวเนียเล่น
ี
นาฬิกาข้อมือผม ทุกๆ เช้าจะเดินมาหา ปิดไฟ เปิดไฟ กินกล้วย กินขนมปัง เดินหยิบ
โน่นหยิบนี่ เราเพียงมองดูอยู่ห่างๆ ไม่เข้าไปแทรกแซงถ้าเห็นว่าไม่อันตราย
ด้วยวิธีนี้ หมู่บ้านเด็กจึงมีจิตวิญญาณของเสรีภาพ และความเป็นธรรมชาติ ที่มี
จังหวะของมัน
ื
เราเพียงเติมความรับผิดชอบเข้าไปในตัวเด็กเพ่อการอยู่ร่วมกันในชุมชนแห่งน ้ ี
ื
เม่อคนในชุมชนขัดแย้งกัน มีความเห็นต่างกัน ก็ใช้หลักการปกครองตนเอง และ
ประสบการณ์ในความเป็นผู้ใหญ่แบบกัลยาณมิตร เข้าไปมีส่วนร่วมอย่างระมัดระวัง
โดยมีความรัก ความเมตตา เป็นพื้นฐาน
ตอนแรกต้งหมู่บ้านเด็ก เรามีเด็กอายุ ๓ ขวบบ้าง ๔ ขวบบ้าง ๕ ขวบบ้าง ลูกชาย
ั
คนโตผม ๘ ขวบ วันนี้เด็กๆ ต่างมีอายุ ๔๐ กว่ากันหมดแล้ว เขาเหล่านี้มาจากสลัมใน
กรุงเทพฯ มาผสมผสานกับเด็กจนๆ ท่อยู่บ้านไร่ริมแควน้อย และเด็กต่างจังหวัด
ี
ึ
ซ่งล้วนมีปัญหาทางอารมณ์และจิตใจจากสภาพแวดล้อมเดิม แล้วเราก็ใช้ขบวนการของ
เสรีภาพมาช่วยคลี่คลายให้เขาได้ แต่การเติมเต็ม “สมอง” ให้ทำางานดีขึ้นนั้น นอกจาก
หนังสือและความเป็นกัลยาณมิตร กับสิ่งแวดล้อมแล้ว
เสรีภาพกับการเล่นแบบธรรมชาติ น่าจะเป็นกระบวนการพัฒนาสมองเป็นหลัก
อยู่ด้วย เช่นกัน
การใช้ความรู้สมัยใหม่ในเรื่อง “สมอง” ไม่ได้เข้ามาในระยะต้น เพราะเมื่อก่อน
เราขาดความรู้ความชำานาญท่จะไปจัดการสติปัญญาในสมองของเด็ก ท่อาจบกพร่อง
ี
ี
ด้าน IQ อันมีผลมาจากการขาดสารอาหารในวัยเด็ก หรือความบกพร่องด้านอื่นๆ จน
เด็กบางคนมีอาการรับรู้ช้า เรียนช้า
แต่ก็ไม่ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่มุ่งไปสู่การพัฒนาสมอง
นอกเหนือจาก “เสรีภาพ” ที่เราให้กับเด็กๆ ตัว “ความรัก” ก็เป็นลักษณะเด่น
ที่เรามีให้อย่างเต็มที่
68