Page 71 - 40 ปี มูลนิธิเด็ก
P. 71
ี
โดย “แม่แอ๊ว” ของเด็กๆ เป็นผู้นำา ท่ให้ความรัก ความเมตตา ความอบอุ่นอย่าง
ี
ื
ั
ั
ไม่มีเง่อนไข จนกลายเป็นลักษณะเด่นของหมู่บ้านเด็ก ต้งแต่สมัยต้งอยู่ท่แควน้อย
จนย้ายมาอยู่แควใหญ่
วันน้เรารู้ว่า “เสรีภาพ” น้นสำาคัญ “ความรัก” น้นสำาคัญ แต่กระบวนการเรียนร ู้
ั
ี
ั
ี
ท่ไปพัฒนาสมองก็สำาคัญไม่แพ้กัน และไม่ถึงต้องไปพัฒนาสมองท้งหมด จนเป็นเด็ก
ั
“อัจฉริยะ” เอาเพียงบางส่วนบางด้าน ที่ทำาให้เด็กมี “ความฉลาด” ก็พอ เพื่อนำาความ
ฉลาดนั้นไปช่วยคลี่คลายอารมณ์แห่งความเกลียดชังลงได้บ้าง
ี
ี
ู้
ั
ั
ผมรสึกว่าเด็กชุดแรกเสยโอกาสน้ไป รวมท้งลูกชายท้งสองของผมด้วย ถึงแม้เขา
จะได้รับเสรีภาพ
ได้รับความรักอย่างเต็มที่จากผู้หญิงที่ชื่อ “แม่แอ๊ว” ก็ตาม
ี
ี
ี
ี
มาวันน้ ๔๐ ปีท่ผ่านไป เด็กๆ ท่อยู่ในหนังสือ ชีวิตจริงท่หมู่บ้านเด็ก จะรู้สึก
อย่างไร เราจึงขอให้เขาเขียนเล่าเร่องราวและความรู้สึกของเขามาให้เราอ่านกัน อาจ
ื
จะเป็นเรื่องตัวเขาเอง หรือการงานที่เขาทำาอยู่ในวันนี้ แต่จะแยกพิมพ์เป็นเล่มหนึ่งต่าง
หาก โดยใช้ชื่อว่า หมู่บ้านเด็ก ณ กาลเวลาหนึ่ง
ถึงอย่างไรกตาม เด็กในยุค ๑๐ ปีแรก ก็ได้มีโอกาสสนทนาวสาสะกับคนเก่งๆ
ิ
็
ั
ี
ั
คนฉลาดๆ ทหลากหลาย ทมความหวงกบโรงเรยนแห่งเสรีภาพ และหลายคนได้มโอกาส
ี
ี
ี
่
ี
่
ได้แสดงละครกับศิลปินสำาคัญๆ ของบ้านเรา วันน้โอกาสเป็นของเด็กรุ่นหลัง ท่จะนำา
ี
ี
เรื่องเก่าสมัยโน้นมาแสดงใหม่
ิ
ื
เราเร่มด้วยละครเพลงเร่อง “ช้างกับเรือ” โดยศิลปินสามท่าน ดนู ฮันตระกูล
เทพศิริ สุขโสภา และคุณหญิงจำานงศรี รัตนิน กับวงไหมไทย
ำ
้
ตามด้วยละคร “ฉันจะปลูกต้นไม้” ของ บรูซ แกสตัน กับวงฟองนาอันลือล่น
ั
เด็กหมู่บ้านเด็กมีโอกาสดีกว่าเด็กยากจนหลายคนในประเทศน้ ท่ได้ทำางานศิลปะ
ี
ี
เพอมาช่วยพัฒนาอารมณ์ ไปพร้อมๆ กับการได้รับเสรีภาพ ความรัก และธรรมชาติของ
ื
่
69