Page 145 - แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2566-2570
P. 145
125
การเปรียบเทียบร้อยละของการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา ระหว่างปีการศึกษา 2561 - 2564
จำแนกรายกลุ่มอายุ เพื่อทราบแนวโน้มของสัดส่วนผู้เรียนต่อประชากรในพื้นที่กลุ่มจังหวัดร้อยแก่น
สารสินธุ์ ดังนี้
แนวโน้มของสัดส่วนผู้เรียนต่อประชากร
ในพื้นที่รับผิดชอบของส านักงานศึกษาธิการภาค 12 จ าแนกรายกลุ่มอายุ
120.00
100.00
80.00
60.00
40.00
20.00
0.00
ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564
กลุ่มอายุ 3–5 ปี 77.50 73.62 100.37 73.81
กลุ่มอายุ 6 – 11 95.04 93.09 96.07 96.24
กลุ่มอายุ 12 – 14 ปี 107.27 91.23 111.66 92.18
กลุ่มอายุ 15–17 ปี 86.63 49.98 85.26 89.16
จากแผนภูมิจะเห็นว่าแนวโน้มของสัดส่วนผู้เรียนต่อประชากรในพื้นที่รับผิดชอบ
ของสำนักงานศึกษาธิการภาค 12 ปรากฏว่า จากปีการศึกษา 2561 – 2562 การเข้าถึงโอกาส
ทางการศึกษามีสัดส่วนการเข้าเรียนที่ลดลงในทุกกลุ่มอายุ เมื่อพิจารณาระหว่างปีการศึกษา
2562 – 2564 รายกลุ่มอายุ พบว่า กลุ่มอายุ 15 – 17 ปี และกลุ่มอายุ 6 – 11 ปี มีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้นทุกปี ส่วนกลุ่มอายุ 3 – 5 ปี และกลุ่มอายุ 12 – 14 ปี มีแนวโน้มเพิ่มและลดลงไม่คงที่
เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบรายกลุ่มอายุ พบว่า การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาของประชากร
กลุ่มอายุ 6-11 ปี สูงสุด คิดเป็นร้อยละ 96.24 รองลงมาคือกลุ่มอายุ 12-14 ปี คิดเป็นร้อยละ
92.18 กลุ่มอายุ 15-17 ปี คิดเป็นร้อยละ 80.98 และกลุ่มอายุ 3-5 ปี เข้าถึงโอกาสทางการศึกษา
น้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 73.81
2) ด้านความเท่าเทียมทางการศึกษา (Equity)
ดัชนีที่ 5 จำนวนเด็กในวัยเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษได้รับการศึกษา
เต็มตามศักยภาพ
จำนวนนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ตามสถานศึกษา 4 ประเภท
ปีการศึกษา 2564 จำแนกตามพื้นที่รับผิดชอบรายสำนักงานศึกษาธิการภาค 1 – 18
---------------------------------------------------------------------------------