Page 9 - แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2566-2570
P. 9

ฉ




                           ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยให้มีคุณภาพ
                                ั
                     บนฐานพหุปญญา เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่
                             เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์
                                1. ประชากรวัยเรียนมีคุณภาพ ทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ในโลกยุคใหม่

                                2. ครู และบุคลากรทางการศึกษา  มีสมรรถนะเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่

                             กลยุทธ์
                                1. ส่งเสริมการเรียนรู้เชิงบูรณาการพฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบผ่านการลงมือ
                                                              ั
                     ปฏิบัติควบคู่กับการเรียนรู้ผ่านสื่อเทคโนโลยีดิจิทัล

                                2.ส่งเสริมและพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลที่หลากหลายเพอยกระดับคุณภาพการศึกษา
                                                                             ื่
                                3. พัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่เสริมสร้างพหุปัญญาในรูปแบบที่หลากหลาย

                     เพื่อพัฒนาทักษะที่จำเป็นในโลกยุคใหม่

                                4. ส่งเสริม สนับสนุนผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาพัฒนานวัตกรรมการ
                     จัดการเรียนรู้ที่พัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล

                               5. ส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมการบริหาร และจัดการศึกษา
                             ตัวชี้วัด

                                1. ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลาง

                     การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
                                2. ร้อยละของประชากรวัยเรียนที่ได้รับการพัฒนากระบวน การคิดอย่างเป็นระบบด้วยสื่อ

                     เทคโนโลยีดิจิทัล
                                3.ร้อยละของสถานศึกษามีการจัดการศึกษาตามหลักสูตรที่มุ่งพฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ
                                                                                  ั
                     ที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ในโลกยุคใหม่

                                4. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการส่งเสริมสนับสนุนผู้เรียนตามพหุปัญญา
                                5. ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยการประเมินความสามารถด้านการอานของผู้เรียน (RT) ระดับชั้น
                                                                                 ่
                     ประถมศึกษาปีที่ 1 เพิ่มขึ้น

                                6. ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
                     ที่เพิ่มขึ้น

                                7. ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)
                     เพิ่มขึ้น

                                8. ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ

                     โรงเรียน (N-NET) (เฉลี่ยรวมทุกสาระ 2 ครั้ง) - ประถมศึกษา – มัธยมศึกษาตอนต้น - มัธยมศึกษาตอนปลาย
                                9. ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ประยุกต์ใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลในการจัด

                     กระบวนการเรียนการสอน



                     ---------------------------------------------------------------------------------
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14