Page 225 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 225
ิ
ข้อสังเกตที่มาของตำนานพระเจ้ายอดคำทพย์
จากที่มาของตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์ทั้ง ๒ ฉบับได้พบข้อสังเกตเป็นความลักลั่นของที่มาเอกสาร
ตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์ได้ดังนี้
๑. ที่มาของตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์ได้บอกว่าเป็น “ธัมม์เมืองเหนือ ทพระครูธรรมเนตรโสภณ
ี่
(บุญธรรม มาอาจ) เจ้าอาวาสวัดท้องลับแล (ในขณะนั้น) ได้มาตั้งแต พ.ศ. ๒๕๐๗ ในคราวที่นายไทย – นาง
่
็
้
้
ทอง แก้วพูลปกรณ์ ได้มาบูรณะแท่นฐานชุกชีพระประธานในอุโบสถวัดทองลับแล ซึ่งเปนธัมม์ทห่อไว้ดวยผา
ี่
้
จีวรเก่า ๆ วางไว้ใต้ฐานของพระพุทธรูปประธาน มีสภาพค่อนข้างผุยุ่ยแตกหัก แต่ยังพออ่านความได้” เมื่อ
ผู้อ่านได้อ่านแล้วพิจารณาดูพบว่า “เป็นเรื่องจริงเกี่ยวกับชื่อและประวัติของพระพุทธรูปองค์ประธานในอุโบสถ
แต่ออกจะเป็นแนวอภินิหารเกินจริงไปเสียหน่อย แต่ก็พอจะสืบความได้ว่าเกี่ยวข้องกับตำนานที่คนโบราณของ
บ้านลับแลงมักจะศรัทธากราบไหว้นั่นก็คือ เจ้าฟ้าฮ่ามกุมาร แต่ในธัมม์ผูกนี้กลับเป็นชื่อที่เขียนเพิ่มออกไป นัย
ิ
ี
ี
ว่าจะเกี่ยวข้องกับกษัตริย์แต่ครั้งอดต” พระครูธรรมเนตรโสภณจึงได้นำธัมม์นี้ไปให้กับพระครูธรรมฐตวงษ์ครี
ี
่
เขต (บุญใหญ่ อินทปัญโญ) เจ้าอาวาสวัดเจดีย์คีรีวิหาร ผู้เป็นพระอุปัชฌาย์ของทานช่วยพิจารณา จากประวัต ิ
ของพระครูธรรมเนตรโสภณ ได้ให้ข้อมูลว่า ท่านอุปสมบทที่วัดท้องลบแล เมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๖
ั
โดยมีพระครูธรรมฐีติวงษ์คีรีเขต เจ้าคณะแขวงเอกเมืองพิชัย เป็นพระอุปัชฌาย์ แต่ในการพบตำนานพระเจา
้
ยอดคำทิพย์ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๗ นับเป็นพรรษาที่ ๓๑ ของพระครูธรรมเนตรโสภณ ส่วนพระครูธรรมฐตวงษ์ครี
ี
ี
ิ
เขตได้อาพาธด้วยโรคชรามาอย่างน้อยตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๘ และได้มรณภาพเมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๒
้
ี่
คือก่อนการพบตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์ ๕ ปี จึงเป็นความลักลั่นของข้อมูลและเป็นไปไม่ไดทพระครูธรรมฐ ี
ติวงศ์คีรีเขตจะได้อ่านพิจารณาตำนานนี้
ี
๒. เมื่อพระครูธรรมเนตรโสภณไปรับธัมม์ตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์มาจากพระครูธรรมฐีติวงษ์ครี
ิ
ึ
เขต แล้ว “ท่านพระครูเล่าว่าเป็นเรื่องราวที่น่าอัศจรรย์ยิ่งนักสมควรได้คัดลอกและรักษาไว้ อาตมาภาพจงคดท ี่
จะคัดลอกและแปลธัมม์พื้นเมืองผูกนี้ไว้” จึงเป็นไปได้ว่าพระครูธรรมเนตรโสภณได้คัดลอกธัมม์ตำนานนี้ไว้
ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๗
๓. ความลักลั่นของที่มาตอนที่พระครูธรรมเนตรโสภณได้ทำการแปลจนแล้วเสร็จทั้ง ๒ ฉบับมีความ
ต่างกันกล่าวคือ ฉบับที่ ๑ ระบุว่า “จนกระทั่งได้มีโอกาสแปลจนเสร็จ ในวันขึ้น ๘ ค่ำ เหนือ ๑๑ เดือน ๓ ไทย
พ.ศ. ๒๕๒๖” และในฉบับท ๒ ระบุว่า “วันขึ้น ๘ ค่ำเหนือ ๑๑ เดือน ๓ ไทย พ.ศ. ๒๕๒๔ ด้วยสติปัญญาอัน
ี่
น้อยจึงอาจต้องขออภัย ด้วยสติปัญญาอันน้อยจึงอาจต้องขออภัย หากมีผิดหรือตกหล่นไปบ้างด้วยเฉพาะ
สังขารกับทั้งสุขภาพที่ไม่เอื้ออำนวย” เมื่อตรวจสอบกับประวัติพระครูธรรมเนตรโสภณพบว่าท่านเริ่มอาพาธ
ตั้งแต่วันที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๕ และได้เข้ารักษาอาการที่โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ตั้งแต่วันที่ ๙ มีนาคม
พ.ศ. ๒๕๒๕ จนกระทั่งท่านได้มรณภาพเมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๕ สิริอายุได้ ๗๒ ปี ๙ เดือน
การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
หน้า ๗๕