Page 226 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 226
้
๑๐ วัน รวมพรรษา ๔๙ ดังนั้นปีศักราชในฉบับแรกจึงเขียนขึ้นหลังจากที่พระครูธรรมเนตรโสภณมรณภาพแลว
้
้
ั
ส่วนฉบับที่ ๒ เป็นไปได้ว่าพระครูธรรมเนตรโสภณได้เป็นผคดลอกและแปลธัมม์ ฉะนั้นการแปลธัมม์ไดใชเวลา
ู้
ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๗ – ๒๕๒๔ เป็นระยะเวลากว่า ๑๗ ป ี
ู
๔. ที่มาของตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์ได้ระบุว่า “หากเนื้อความในธัมม์พื้นเมืองผกนี้มีความจริงก็จะ
เป็นการดีต่อบ้านลับแลงที่จะได้สืบรู้ความเป็นมาของแหล่งที่อยู่ตน แต่หากเนื้อความในธัมม์ตำนานฉบับเก๊า
พระเจ้ายอดคำติ๊บ วัดลับแลงหลวงผูกนี้ เป็นเรื่องเหลวไหลก็จงสดับหูหมายเอาเป็นพุทธนิยายเพื่อขัดเกลา
ู้
อบายกิเลสในใจเสียเถิด” นั่นเป็นการย้ำเตอนว่าเนื้อความในธัมม์นี้สุดแต่วิจารณญาณของผศึกษา ไม่ได้ชวนให้
ื
หลงเชื่อเนื้อความในธัมม์นี้เลยแม้แต่น้อย
๕. เนื้อความตอนสุดท้ายของที่มาตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์ระบุว่า “หากตัวอาตมาภาพได้ล่วงลับ
ั
ดับสังขารไปแล้ว หากศิษยานุศิษย์คนใดในใจใคร่จดพิมพ์หนังสอประวัติของอาตมาภาพในงานศพก็ขอให้พิมพ์
ื
ี่
ธัมม์ผูกนี้ได้ด้วย จักเป็นประโยชน์ยิ่ง” แต่ด้วยท้ายกระดาษของทมาตำนานทั้ง ๒ ฉบับ ไดเขียนไว้เพื่อให้พระ
้
ครูธรรมเนตรโสภณ (บุญธรรม มาอาจ) ลงนามเช่นเดียวกัน จึงเป็นไปได้ที่บันทึกนี้จะถูกคัดลอกจากคำ
ประสงค์ของพระครูธรรมเนตรโสภณ เพื่อรอการลงนามจากพระครูธรรมเนตรโสภณ แต่ก็ไม่อาจทราบได้ว่า
ฉบับใดเป็นการแปลมาจากต้นฉบับลานธัมม์ ซึ่งพระครูธรรมเนตรโสภณก็มิได้ลงนามในเอกสารทั้ง ๒ ฉบับ
การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
หน้า ๗๖