Page 237 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 237

ใน “หมิงสือลู่” ได้บอกว่าเหตุการณ์นี้ควรตรงกับ พ.ศ. ๑๙๔๘ ซึ่งเป็นปีสุดท้ายที่ท้าวยี่กุมกามส่งเครื่องราช

                                        19
               บรรณาการไปยังราชสำนักจีน
                       ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ได้บอกว่า “เจ้าแสนเมืองมามีลูกชาย ๒ คน ผู้ ๑ ชื่อว่า ท้าวยี่กุมกามเหตว่า
                                                                                                       ุ
                                                                                                     ู
               เกิดยังเวียงกุมกาม ผู้ ๑ ชื่อว่า สามฝั่งแกน ด้วยประสูติที่พันนาฝั่งแกน”  เป็นที่น่าสังเกตว่า “ยี่” คอ ลกชาย
                                                                                                  ื
                                                                          20
                                                                                              ็
               คนที่สอง และ “สาม” คือ ลูกชายคนที่สาม แต่ขาด “อ้าย” ที่เป็นการนับลูกชายคนแรก หรือเปนไปได้ว่าพระ
                                                                          21
               ราชโอรส (ลูกชาย) คนแรกสิ้นพระชนม์ไปตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์มาก  จึงไม่มีการกล่าวถึง ซึ่งอนึ่งตำนาน
               พื้นเมืองเชียงใหม่ได้กล่าวพระนามพระราชโอรสของพระญาแสนเมืองมาว่า “ท้าวยี่กุมกาม” หรือ “เจ้าพ่อ

               ท้าวยี่กุมกาม” แต่ตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย์ได้ระบุชื่อไว้ว่า “เจ้ายี่กุมกวามแก้ววงเมือง” ที่มีความแตกตาง
                                                                                                        ่
                                                                                                  ้
               กัน ส่วนใน                “หมิงสือลู่” ได้ออกพระนามว่า “ตาวเจาหนี่” เมื่อเทียบเสียงไทจะเป็น “ทาวเจายี่”
                                                                                                      ้
               และเมืองเชียงรายได้ออกเสียงเป็น “ป่าไป่เจ๋อหน่าย” คำว่า “ป่าไป่” เป็นชื่อแคว้นและ “เจ๋อหน่าย” เทียบ

                              22
               เสยงเป็นเชียงราย
                 ี

                  ้
                          ี่
               เนอควำมท ๘
                  ื

                              ้
                                                                                     ้
                                                                                              ้
                                        ี่
                 เจ้ำพระญำแกววงเมืองยกุมกวำมจึ่งสั่งฝูงชำวเวียงทั้งหลำย แตงเวียง ปำนคันนำหนองฝำย
                                                                             ่
                                                                                               ื
                 แผบ้ำนแลอำรำมกุมหนอง แลยกยกพิหำรอันรวมทั้งหลำยในโขงแคว้นเขตเวียงสบสัณฐำน
                                                                              ้
                 ดั่งหอยสังข์ไจยมงคล มำใสไว้ทเวียงซำกสระหนองหลวง หว่ำงหวยทะรำก  แกวแม่จุมปู แล
                                               ี่
                                           ่
                                                                                            ้
                                                                                             ี
                                        ็
                                                                                      ็
                 ยกเอำสระหนองหลวงเปนดั่งปำกขุมขอนสังข์ ยกเอำอำรำมพิหำรใหญ่เปนแนวสมำเขตเวียง
                                            ่
                                 ้
                                                     ้
                  ้
                 หอนำแม่หวยแกวจุมปูไหลผำน แลนำแม่หวยทรำยค ำไหลล้อม  หนวันออก มีเจติยะพิหำร
                                                          ้
                  ื
                           ้
                      ้
                                                            ่
                                                                ี
                                                ้
                                                                                         ้
                                                                                    ้
                 อำรำมเปนแนว  หนเหนอ  มีวัดชำงแล่นหัวขวงสมำรำม แลริมตำฝ่งนำแม่หวยแกวจุมปูเขต
                                                                                               ้
                                                                                 ั
                                        ื
                         ็

                                                                                                    ื
                                                            ่
                                                               ่
                          ่
                               ่
                     ่
                        ้
                 นำปำสมปอง ปำหมำก หนำมทูนเรียน มีนำปำโปง วัดเชตะวันพิหำร หนวันตกเบื้องเหนอ  มี
                 วัดปำไม้แดง ถัดล่องลงอว่ำยวันตกมำแลเปนวัดเวฬุวันพิหำรปำไผ  ลัดล่องมำยังหนวันตก
                                                                                 ่
                     ่
                                                           ็
                                                                             ่
                                                                                                 ่
                 เปนวัดตำละนำลิเกระม่อนปำปำว ปำตำล จ ำบอน แลม่อนระสดอยกั้ง แลม่อนเกล๊ำปูเจ้ำดอย
                   ็
                                           ่
                                                                            ี
                                                  ่
                                              ้

                       19  “หมิงสือลู่ ได้กล่าวถึง ท้าวเจ้ายี่ (ยี่กุมกาม) ครองเมืองเชียงรายอยู่ในระหว่าง พ.ศ. ๑๙๔๗ – ๑๙๔๘ ; วินัย  พงศ์
               ศรีเพียร (บรรณาธิการ), ๒๕๓๙, หน้า ๒๐๖.
                       20  ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับ เชียงใหม่ ๗๐๐ ปี, ๒๕๓๙ หน้า ๕๔.
                       21  จารีตไทยโบราณนิยมตั้งชื่อลูกเรียงลำดับ นอกจาก “ยี่กุมกาม” และ “สามฝั่งแกน” แล้ว ได้ปรากฏว่าพระราช
               โอรสของพระญาสามฝั่งแกนทั้ง ๑๐ องค์ ก็มีชื่อเรียงลำดับคือ ท้าวอ้าย, ท้าวยี่, ท้าวสาม, ท้าวไส, ท้าวงั่ว, ท้าวลก, ท้าวเจ็ด,
               ท้าวแปด, ท้าวเก้า และ ท้าวชิบ (สิบ) ในแคว้นสุโขทัยก็ปรากฏการตั้งชื่อเรียงลำดับคือ ไสรณรงคสงคราม, งั่วนำถุม, ไสลือ
                                                                                                    ี่
               ส่วนในแคว้นอโยธยาปรากฏพระนามพระราชโอรสของสมเด็จพระอินทราชาธิราชเป็นลำดับคือ เจ้าอ้ายพระยา, เจ้ายพระยา
               และเจ้าสามพระยา
                       22  วินัย  พงศ์ศรีเพียร (บรรณาธิการ), ๒๕๓๙, หน้า ๒๐๑ – ๒๐๖.
                                             การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
                                                        หน้า ๘๗
   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242