Page 232 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 232

ชำรุด เนื้อหินหักหายไปไม่เต็มหลัก รูปอักษรลบเลือน ศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ  ณ นคร ได้ความเห็นว่า

               เนื้อหาจารึกน่าจะกล่าวถึงตั้งแต่เมื่อพระมหาธรรมราชาที่ ๑ ขึ้นเสวยราชย์ เป็นจารึกหินทรายเนื้อปานกลาง
               หลักสี่เหลี่ยม กว้าง ๒๖ เซนติเมตร สูง ๘๔ เซนติเมตร หนา ๑๖.๕ เซนติเมตร จำนวน ๔ ด้าน ด้านที่ ๑ มี ๒๒

               บรรทัด ด้านที่ ๒ มี ๒๖ บรรทัด ด้านที่ ๓ มี ๖ บรรทัด ด้านที่ ๔ มี ๒๙ บรรทัด ขึ้นทะเบียนเป็น อถ. ๑ อ่าน

                                                                                      13
               และพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกใน ประชุมจารึกภาคที่ ๘ จารึกสุโขทัย เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๘   มีข้อความที่ว่า “เขา
               (เข้า)เสวยราชย์ในเมืองปีเมสญ (มะเส็ง) แต่มาได้เจ็ดปีจึงก่อพระเจดีย์ มีเนื้อมีใจบันดาลสรธา (ศรัทธา)” มี

               การสร้าง “กุฎีพิหาร” แล้ว “จึงเวนทั้งกุฎีพิหารไร่นาสวนหมาก แต่เชียงแก้วให้เป็นเจ้า” มี “พระบด

               พระพุทธรูป” และมีการ “ปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ” พร้อมทั้งกัลปนาผู้คน ไร่นาให้แก่วัด เมื่อตรวจสอบกับปี
               ที่พระมหาธรรมราชาธิราช ที่ ๑ (พระญาฦๅไทย) ขึ้นครองราชย์ที่เมืองสุโขทัยคือ พ.ศ. ๑๘๙๐ ปีกุน นับเพิ่มมา

                                                                                                        ี
               อีก ๗ ปีตามข้อมูลในจารึกพบว่าตรงกับ ปีมะเส็ง คือ พ.ศ. ๑๘๙๖ จึงเป็นไปได้ว่าจารึกหลักที่ ๓๑๙ จารึกเจดย์
               พิหาร นี้ น่าจะสร้างขึ้นใน พ.ศ. ๑๘๙๖ ปีมะเส็ง












































                                                                        ิ
               เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๙ แล้วได้มาดำรงตำแหน่งอีกครั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดอุตรดตถ์คนที่ ๘ ในทินนาม “พระยานครพระราม”
               เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๗ – ๒๔๖๙ และได้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวดสวรรคโลกคนที่ ๘ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๖ - ๒๔๗๐ ในทินนาม
                                                               ั
               เดิม แต่จารึกนี้ถูกส่งมาที่กรุงเทพฯ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๓ เป็นช่วงที่พระยาวิเศษภักดี (ม.ร.ว. กมล  นพวงษ์) ดำรงตำแหน่งผู้ว่า
               ราชการจังหวัดอุตรดิตถ์คนที่ ๑๐ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๑ – ๒๔๗๔
                       13  ประชุมจารึกภาคที่ ๘ จารึกสุโขทัย, กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๘, หน้า ๙ – ๑๔.

                                             การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
                                                        หน้า ๘๒
   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237