Page 235 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 235

เนื้อความที่ ๖


                                                                                                 ่
                 ลุเถิง ยังขุนองค์ฅำพระญาไสลือไธย  ผู้เป็นใหญ่บนด้าวเจ้าเวียงไธย ได้รับตราบอกใบลุกมาแตเจ้าตนยี่ก
                                                                                                     ๋
                 วามแก้ววงเมือง พระเจ้าเวียงเชียงราย ขอกุมพลเศิกขึ้นเหนือ ลุเถิงยังเขตแคว้นล้านนาทัสสะลักขะเขต

                                                                                                  ้
                 ตาบุรีสะหรีคณทีเชียงใหม่ จักขอกินเวียง แต่ถูกกลเศิกพระเจ้าเชียงใหม่ พระญาเวียงไธยจึ่งไดขอเจ้ายี่
                 กุมกวามแก้ววงเมืองเชียงราย คืนปิ๊กป๊อกออกจากเวียงล่องลงใต้ แลกวาดเทครัวชาวเชียงรายลงเสี้ย

                 งเวียง


                                                     ั
                       เหตุการณ์นี้ไม่ได้ระบุไว้ในจารึกสุโขทยจึงไม่ทราบว่าเหตุการณ์เกิดในช่วงใด พระนาม “พระญาไสลอ
                                                                                                        ื
               ไธย” มาจากคำว่า “ไสลือ” ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ส่วน “ไธย” หมายถึง ชาวไท (เชื้อสายไทเลือง, ไท

               เลิง), ส่วนในจารึกหลักที่ ๖๔ คำปู่สบถ (เมืองน่าน) ให้ชื่อว่า “พระญาฦๅไทย” ซึ่งคำว่า “ไสลือไท” เป็นคำท ี่
               พบในพงศาวดารโยนก ที่พระยาประชากิจกรจักร (แช่ม  บุนนาค) รวบรวมขึ้นไว้สมัยรัชกาลที่ ๕ ; หมายถึง

               สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช ที่ ๒ หรือระบุในจารึกหลักที่ ๔๖ วัดตาเถรขึงหนัง ว่า “สมเด็จมหาธรรม

               ราชาธิบดีศรีสุริยวงศ์” จารึกหลักที่ ๒๘๖ วัดบูรพาราม ว่า “พระมหาธรรมราชาธิราช” ครองราชย์ พ.ศ.
               ๑๙๑๑ – ๑๙๕๒

                       เหตุการณ์นี้ไม่ระบุปีศักราชในการเทครัวชาวเชียงรายมายังเมืองซาก ในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่  ว่า

                   ั
               “มีวน ๑ พระญาไสลือผ่อดูคระบวนเมืองเชียงราย หันดอยช้างกุมเปนรูปหนู ดอยถ้ำพระเปนรูปช้าง
               พระญาหันดอยทัง ๒ เปนรูปหนูรูปช้าง จิ่งจากับด้วยฅนทังหลายว่า เมืองอันนี้ ผู้ใดอยู่ บ่สมริทธีเปนดีม ี

               เข้าของสังแล ว่าอั้น  พระญาไสลือจิ่งกวาดเอาชาวเชียงรายกับทั้งพ่อท้าวยี่กุมกามเมือรอดเมืองสุโขทัย

                                                                                                  14
               พระญาไสลือหื้อพ่อท้าวยี่กุมกามกินเมืองอัน ๑ ชื่อเมืองซาก ลวดเมี้ยนชั่วยังเมืองใต้ วันนั้นแล”   แต่เมื่อ
                               ์
               มาสังเกตเหตุการณในเอกสารจีน “หมิงสือลู่” ได้บอกว่า “เมื่อเดือน ๑๒ ปีที่ ๓ แห่งรัชศกหย่งเล่อ (ตรงกบ
                                                                                                        ั
               วันที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๑๙๔๘) ผู้สำเร็จราชการยูนนานรายงานเข้ามาว่า กองทัพยูนนานประมาณ

               ๑๗,๐๐๐ คน ด้วยความร่วมมือจากกองทัพขงเชอลี่ (เชียงรุ่ง) เมิ่งเกิ้น เมืองเขิน - เชียงตุง) และปอเล่อ
                                                                ้
               (สุโขทัย) รวมหลายทางได้ตีรุกเข้าไป ณ ดินแดนปาไป่ตาเต้ยน (เชียงใหม่) และตีได้เมิ่งหลี่ (เมืองลี้), สือ
                                                                   ี
                                                                           ึ
               อ่าย, เจ่อต้า และเจียงเซี่ย ผลของสงครามทำให้ปาไป่หวาดเกรงมากจงส่งผู้แทนเข้าพบแม่ทัพเพื่อขอขมา
                                                                                                        ิ้
               ลาโทษ ครั้งนั้นจักรพรรดิทรงชมเชยความซื่อสัตย์และจงรักภักดีของเชอหลี่ มู่ปาง ปอเล่อ และเมิ่งเกน
               พร้อมทั้งมีพระบรมราชโองการให้กองกำลังเหล่านี้ยุติการโจมตี”   เหตุการณ์ในเอกสารจีนพ้องกับ
                                                                            15





                       14  ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับ เชียงใหม่ ๗๐๐ ปี, ๒๕๓๙ หน้า ๕๖.
                       15  วินัย  พงศ์ศรีเพียร (บรรณาธิการ). ปาไป่สีฟู่ - ปาไป่ต้าเตี้ยน เชียงใหม่ในเอกสารประวัติศาสตร์จีนโบราณ,
                                                                                                   ์
                                              ั
               กรุงเทพฯ : คณะกรรมการการสืบค้นประวติศาสตร์ไทยในเอกสารภาษาจีน สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี จัดพมพเผยแพร่
                                                                                                 ิ
                                             การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
                                                        หน้า ๘๕
   230   231   232   233   234   235   236   237   238   239   240