Page 238 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 238
้
้
สงเปนเขตบังยังวันตก ถัดวนล่องริไปหนวันตกเบื้องใต มีวัดพนมม่อนสมอพิหำรปงจ ำนำ
็
ู
้
แลหนใต นั้นมีวัดมหำวันพิหำร ขวงนำล้อม แลสันดอยเกล๊ำเจ้ำปูเปนแนวตุมเวียง ถัดมำเปน
้
่
็
็
้
่
้
วัดบุปผำอำรำม ถัดวนขนไปจบหนวันออกเบื้องใต มีหอไต แลกำงเวียงมีพิหำรสำยดือเวียง
ึ
๋
้
้
ั
็
เปนไจยเวียง ริมตำฝ่งหนองสระหลวง นั้นแล
เปนการกล่าวถึงเหตุการณทีท้าวยี่กุมกามได้มาครองเมืองซาก(สระหนองหลวง) จึงท านบ ารุง
็
์
ุ
่
็
็
้
พื้นที่ของ “เวียง” โดยการขุดคูนา คันดินใหม่ให้มีลักษณะเปน “ดั่งหอยสังข์ไจยมงคล” อันเปนรูปแบบ
ของเมืองโบราณตามความเชือทีสืบทอดมาจากแนวคิดการสร้างเมืองล าพูน (หริภุญไชย) ของฤๅษี
่
่
23
วาสุเทพ ใน พ.ศ. ๑๒๐๔ ตามค าแนะนาของพระสุกกทันต์ให้มีสัณฐานเหมือนเปลือกสังข์ทะเล
24
(สมุททสังขปตตสัณฐาน) ต านานพระเจ้ายอดค าทิพย์เรียกชื่อ “เวียงซากสระหนองหลวง”
ฺ
ั
ฺ
โดยมีสัณฐานเวียงดังนี ้
้
๑) เวียงนีตั้งอยู่ระหว่าง “ห้วยทะราก แก้วแม่จุมปู”
๒) “แลยกเอาสระหนองหลวงเปนดั่งปากขุมขอนสังข์”
็
้
็
๓) “ยกเอาอารามพิหารใหญ่เปนแนวสีมาเขตเวียง หื้อนาแม่ห้วยแก้วจุมปูไหลผ่าน แลนาแม่
้
็
ห้วยทรายค าไหลล้อม หนวันออก มีเจติยะพิหารอารามเปนแนว”
้
ั
่
๔) “หนเหนือ มีวัดช้างแล่นหัวข่วงสีมาราม แลริมตาฝ่งนาแม่ห้วยแก้วจุมปูเขตนาปาส้มปอง ปา
่
่
่
่
หมาก หนามทูนเรียน มีนาปาโปง วัดเชตะวันพิหาร”
๕) “หนวันตกเบื้องเหนือ มีวัดปาไม้แดง”
่
๖) “ถัดล่องลงอว่ายวันตกมาแลเปนวัดเวฬุวันพิหารปาไผ่”
่
็
่
๗) “ลัดล่องมายังหนวันตก เปนวัดตาละนาลิเกระม่อนปาปาว ปาตาล จ าบอน แลม่อนระสีดอย
้
็
่
กั้ง แลม่อนเกล๊าปูเจ้าดอยสูงเปนเขตบังยังวันตก”
็
่
๘) “ถัดวนล่องริไปหนวันตกเบื้องใต้ มีวัดพนมม่อนสมอพิหารปงจ านา”
้
็
่
้
๙) “แลหนใต้ นั้นมีวัดมหาวันพิหาร ข่วงนาล้อม แลสันดอยเกล๊าเจ้าปูเปนแนวตุ้มเวียง”
๑๐) “ถัดมาเปน วัดบุปผาอาราม”
็
้
๑๑) “ถัดวนขึนไปจบหนวันออกเบื้องใต้ มีหอไต้”
๑๒) “แลก๋างเวียงมีพิหารสายดือเวียงเปนไจยเวียง ริมตาฝ่งหนองสระหลวง”
็
ั
23 พระรัตนปัญญาเถระ, แสง มนวิทูร (แปล), ชินกาลมาลีปกรณ, พิมพ์ครั้งที่ ๘, เนื่องในงานทำบุญอายวฒนมงคล
์
ุ
ั
พระครูสุวัตถิ์ปัญญาโสภิต (ครูบาปัญญาวชิระ) วัดแสนเมืองมาหลวง (หัวข่วง) จังหวัดเชียงใหม่, ๒๕๕๒, หน้า ๑๘๓.
24 พระโพธิรังสี, คำแปลจามเทวีวงศ์ พงศาวดารเมืองหริปุญไชย, พิมพ์ครั้งที่ ๒. ในงานฉลองอายุครบ ๖ รอบ ของ
นางกิมฮ้อ นิมมานเหมินท์ วันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๐, หน้า ๒๓.
การวิเคราะห์วรรณกรรมเมืองลับแล
หน้า ๘๘