Page 50 - การประชุม HACC Forum ครั้งที่ 13
P. 50
46
01-20 Poster Presentation
ชื่อเรื่อง : การพัฒนาระบบการดูแลผูปวย Sepsis โรงพยาบาลศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร
ผู้นำเสนอ : ดลนภา สุชาติสุนทร ตำแหน่ง : พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
E-mail : donnapa778@gmail.com เบอร์โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 4456 1341
เบอร์โทรศัพท์มือถือ : 08 9422 7778 ID line : -
หน่วยงาน : โรงพยาบาลศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์
ความเป็นมาและความสำคัญ : Sepsis หรือกลุมอาการติดเชื้อในกระแสเลือดเปนภาวะแทรกซอนที่ส าคัญ
ซึ่งเกิดขึ้นหลังการติดเชื้อในรางกายอยางรุนแรงและท าใหเกิดการอักเสบ ท าลายของเนื้อเยื่อในระบบอวัยวะตาง ๆ
ทั่วรางกายและอาจเพิ่มความรุนแรงเปน Septic shock จนกระทั่งท าใหอวัยวะตาง ๆ ลมเหลวและอาจเสียชีวิต
ไดในเวลาที่รวดเร็ว โรงพยาบาลศีขรภูมิ เปนโรงพยาบาลระดับ M2 ขนาด 171 เตียง ใหบริการจริง 235 เตียง
มีอายุรแพทย 3 คน ในป 2559, 2560 และ 2561 มีผูปวย Sepsis จ านวน 108, 244 และ 601 ราย ตามล าดับ
ผูปวย Septic shock จ านวน 65 ราย (59.6 %), 32 (13.1%), และ 83 ราย (13.77%) ตามล าดับ อัตราตายผูปวย
Sepsis คิดเปนรอยละ 15.6 (17 ราย), 2.05 (5 ราย), และ 1.32 (9 ราย) ตามล าดับ อัตราสงตอผูปวย Sepsis
คิดเปนรอยละ 47.40 (27 ราย), 54.90 (143 ราย), และ 27.12 (163 ราย) ตามล าดับ จากการประเมินปญหา พบวา
ขาดแนวทางในการคัดกรองที่ชัดเจน ขาดความแมนย าในการใชแนวปฏิบัติ ผูปวยมีอาการ หรือโรครวมหลายชนิด
สงผลใหวินิจฉัยลาชา การใหยาปฏิชีวนะลาชา การเฝาระวังติดตามอาการผู้ป่วยไมเปนไปตามมาตรฐาน
รวมถึงภาระงานที่คอนขางมากของพยาบาล ทำให้เกิดความลาชาในการดูแลผูปวย
กิจกรรมการพัฒนา : ปรับปรุง CPG Sepsis และ Implement สูผูปฏิบัติ ประเมินการใช CPG ปรับปรุง
แนวทางการคัดกรองผู ปวย Sepsis ที่ ER OPD และการเฝ าระวัง/ประเมินซ้ำผู ป วยที่ตึกผู ปวยใน
ปรับปรุงระบบ Sepsis fast track เพื่อใหผูปวยไดรับยาปฏิชีวนะตามเกณฑที่ก าหนดปรับปรุงการบันทึก
ทางการ พยาบาลผูปวย Sepsis ตามแบบ Focus charting โดยประเมินอาการและอาการแสดง แบบ Real time
ปรับปรุงเกณฑการจ าแนกประเภทผูปวย Sepsis และจัดรูปแบบการเฝาระวังและสังเกตอาการผูปวย
โดยการจัด Zoning lock observe ที่มีอายุรแพทย เ ป นผูดูแลรักษา จัดท า Grand round เคส Sepsis
พรอมสอนแพทยในการท าอัลตราซาวน IVC และ Coaching หนางาน และจัดใหมีผูรับผิดชอบ Sepsis ในแตละ
ตึกผูปวยใน (Sepsis Nurse) เพื่อติดตามตัวชี้วัดและแจงผลการด าเนินงาน จัดใหมีการทบทวนเวชระเบียนผูปวย
Sepsis ที่ เสียชีวิต และผูปวย Unplan refer ภายใน 7 วัน ระหวางทีม Sepsis รวมกับ PCT MED
การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง : จากผลการพัฒนาพบวาในป 2562 มีผูปวย Sepsis จ านวน 173 ราย
ผูปวย Septic shock จ านวน 40 ราย (23.12%) อัตราตายผูปวย Sepsis (เกณฑ < 30%) คิดเปนรอยละ 1.73
(3 ราย) อัตราสงตอผูปวย Sepsis คิดเปนรอยละ 21.39 (37 ราย) ในป 2559, 2560, 2561 และ 2562 อัตรา
การได ATB ภายใน 1 ชม. (เกณฑ > 90%) คิดเปนรอยละ 88.07 (96 ราย), 88.93 ( 117 ราย), 98.67 ( 593 ราย)
และรอยละ 100 ( 173 ราย) ตามล าดับ อัตราการเจาะ H/C กอนใหยาปฏิชีวนะ (เกณฑ > 90%) คิดเปนรอยละ
33.03 (36 ราย), 68.85 (168 ราย), 88.40 (532 ราย) และ 98.84 (171 ราย) ตามล าดับ อัตราการไดรับสารน้ำ
1,500 ml ภายใน 1 ชม. (เกณฑ > 90%) คิดเปนรอยละ 19.27 (27 ราย), 31.15 (58 ราย), 51.42 (310 ราย)
และ 77.17 (106 ราย) ตามล าดับ และอัตราที่ผูปวยไดรับการดูแลแบบวิกฤต (เกณฑ > 30 %) ในป 2561 และ 2562
คิดเปนรอยละ 37 (223 ราย) และ 95.95 (166 ราย) ตามล าดับ
บทเรียนที่ได้รับ : ทีมน ารวมลง Coaching หนางานชวยใหสามารถประเมินปญหาและรวมกันแกไขปญหาไดดียิ่งขึ้น
และควรมีการเฝาระวังในผูปวยกลุมโรคเรื้อรัง ผูปวยสูงอายุ สิ่งที่คาดหวังวาจะท าในครั้งหนาคือการเนนการปองกัน
โดยใหความรูสูชุมชนและอบรมเจาหนาที่ รพ.สต. เพื่อใหสามารถคัดกรอง ผูปวยและสงตอได้อยางรวดเร็ว
คำสำคัญ : Sepsis, Septic shock, การพัฒนาระบบการดูแลผูปวย Sepsis