Page 30 - ทั้งหมด
P. 30
่
ู
ระบบสามขวด (ขวด reservoir , ขวด subaqeous และขวด pressure regulator) เหมอนระบบสองขวดเพียงแตเพิ่มแรงดดจาก
ื
ื
ุ
ุ
ภายนอก โดยอาศัยเครองดดสญญากาศควบคมความดันโดยระดับน ้า
ู
่
่
ึ
การใช้ suction device ปกติจะใช้ wall suction10-20 cmH2O ซงความแรงของ suction ใน chest tubeข้นกับความ
ึ
ิ
สูงของน ้าใน water seal reservoir โดยเปดความแรงของ wall suction ให้มีลมปุดออกตลอด หรอลดความแรงลงมาจนเห็น
ื
็
ุ
ลมปดออกเปนคร้ ังคราวก็ได้
่
ั
การเห็นลมปุดออกจาก air leak chamber ให้พิจารณาว่าลมร่วมาจากต าแหนงใด
1) drainage system มีลมเข้ามาตามข้อต่อต่างๆหรอไม ่
ื
ู
2) ดูว่ารของ chest tube อยู่ใน thorax ทั้งหมดหรอไม ่
ื
ู
่
ั
ั
ื
ี
ั
่
3) ถ้ายังมลมร่วอยู ให้ดว่าร่วเฉพาะตอนหายใจออกหรอตอนไอ(large hole ที่ lung parenchyma) แตถ้าร่วตลอด
หรอร่วตอนหายใจเข้าแสดงว่าม significantlung injury อาจต้องท้า surgical intervention ถ้า persistentair leak > 72 ชั่วโมง
ื
ั
ี
ระดับน ้าใน tube มี fluctuation ขณะหายใจเข้าและออกแสดงว่าระบบยังท้างานได้เปนปกติ แต่ถ้าไม่มี respiratory
็
ื
fluctuation แสดงว่าอาจมีการอุดตันในระบบหรอปอดขยายเต็มที่แล้ว ถ้ามีการอุดตันในระบบสามารถแก้ไขโดยการเปลี่ยน
ื
่
ู
tube ใหม่ ซงมีความยุ่งยาก หรอใช้วิธ“stripped” โดยการ clamp สวน proximal แล้วบีบสายสวน distal รดลงมาเมื่อปล่อย
่
ี
่
ึ
่
มือจะเกิด negative pressure ดึงให้ clot หลุดออกมา แต่ถ้าสวนอุดตันอยู่ใน thorax ให้ clamp สวน distal แล้วบีบรดไปทาง
ู
่
proximal แทน
ระบบสขวด เพิ่มขวด subaqueous อีก 1 ขวดโดยต่อจากขวด reservoir ของระบบสามขวด เพื่อให้มีการระบายอากาศได้ถ้า
ี่
ื
ื่
ุ
เครองดูดสญญากาศไม่ท้างานหรอมีอากาศออกมามาก