Page 29 - รายงาน พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
P. 29

20







                              การจูงใจ เป็นภาวะภายใน ของบุคคล ที่ถูกกระตุ้นให้กระท าพฤติกรรมอย่างมีทิศทางและ
                       ต่อเนื่อง (Anita E. Woolfolk, 1995 : 130)

                              การจูงใจเป็นภาวะในการเพมพฤติกรรม การกระท าหรือกิจกรรมของบุคคล โดยบุคคลจงใจ
                                                     ิ่
                       กระท าพฤติกรรม นั้นเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ ต้องการ (Domjan, 1996 : 199)

                              แรงจูงใจในการท างาน หมายถึง พลังจากภายในและภายนอกซึ่งช่วยกระตุ้นพฤติกรรมให้

                       บุคคลท าในสิ่งต่าง ๆ ให้ส าเร็จตามเป้าหมาย ด้วยความเต็มใจ และเป็นตามกระบวนการจูงใจของแต่
                       ละบุคคล (ชาญศิลป วาสบุญมา, 2546 : 26)

                              แรงจูงใจในการท างาน หมายถึง สิ่งใด ๆ ที่เป็น แรงผลักคัน หรือกระตุ้น ให้บุคคลปฏิบัติหรือ
                       แสดงพฤติกรรมด้วยความเต็มใจ เพอที่จะน ามาซึ่ง การท างานที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งมูลเหตุจูงใจที่
                                                     ื่
                       ส าคัญคือ ความต้องการ ความพงพอใจในการท างาน จะน ามาซึ่งการปฏิบัติที่ดีของบุคลากรท าให้
                                                  ึ
                       บุคลากรมีความและจงรักภักดีต่อองค์การ ซึ่งจะเป็น เงื่อนไขส าคัญต่อความส าเร็จขององค์การใน
                       ระยะยาว (ธิดา สุขใจ, 2548 : 8)

                              กล่าวสรุปได้ว่า การจูงใจ เป็นกระบวนการที่บุคคลถูก กระตุ้นจากสิ่งเร้าโดยจงใจ ให้กระท า

                                  ื่
                       หรือดิ้นรนเพอให้บรรลุวัตถุประสงค์บางอย่าง ซึ่งจะเห็นได้ว่า พฤติกรรมที่เกิดจาก การจูงใจ เป็น
                                                                                             ี
                       พฤติกรรม ที่มิใช่เป็นเพียงการตอบสนองสิ่งเร้าปกติธรรมดา แต่ ต้องเป็นพฤติกรรมที่มความเข้มข้น มี
                                                                                     ึ้
                       ทิศทางจริงจัง มีเป้าหมายชัดเจนว่าต้องการไปสู่จุดใด และ พฤติกรรมที่เกิดขน เป็นผลสืบเนื่องมาจาก
                       แรงผลักดัน หรือ แรงกระตุ้น ที่เรียกว่า แรงจูงใจ ด้วย

                              แรงจูงใจของนักท่องเที่ยว หมายถึง เครือข่ายทั้งหมดที่ก าหนดพฤติกรรมการท่องเที่ยว เป็น

                       แนวคิดทางด้านจิตวิทยาและ สังคมวิทยาพลังทางด้านจิตวิทยา คือ ความต้องการท าสิ่งต่าง ๆ เช่น
                       อยากว่ายน้ า อยากปีนเขาพลังทางด้านสังคมวิทยา คือ ความอยากมีหน้ามีตาในสังคม อยากทันสมัย

                       อยากดูมีระดับ
                               แรงจูงใจของนักท่องเที่ยว หมายถึง เครือข่ายทั้งหมดของพลังทางวัฒนธรรม และพลังทาง

                       ชีววิทยา ซึ่งเป็นตัวก าหนดพฤติกรรมการท่องเที่ยว ส่วนที่เป็นพลังด้านจิตวิทยาคือ ความต้องการ

                       พกผ่อนจากความเหน็ดเหนื่อยจากการท างาน ต้องการได้เห็นสิ่งที่แปลกใหม่เพอลดความวิตกกังวล
                                                                                         ื่
                        ั
                       ส่วนพลังทางสังคมจะเป็นความรู้สึกภาคภูมิใจที่ได้ไปเห็นสิ่งมหัศจรรย์อย่างหนึ่งของโลก
                                                                                                    ื่
                              แรงจูงใจทางการท่องเที่ยว หมายถึง สิ่งที่กระตุ้นให้นักท่องเที่ยวเดินทางท่องเที่ยว เพอสนอง
                                                                                                  ี
                       ความต้องการของตนเอง หรือหมายถึง พฤติกรรมการเดินทางทองเที่ยวซึ่งเป็นพฤติกรรมที่มเป้าหมาย
                                                                          ่
                       ชัดเจน เพื่อตอบสนองความต้องการจ าเป็นบางอย่างของแต่ละบุคคลทางด้านการท่องเที่ยวพฤติกรรม
                       ที่มีเป้าหมายนี้จะมีแรงจูงใจเป็นตัวผลักดันรวมอยู่ด้วยจึงส่งเสริมเร่งเร้าให้บุคคลเดินทางมากขึ้น และ

                       ยังมีอิทธิพลที่ท าให้แต่ละบุคคลมีพฤติกรรมที่แตกต่างกันทั้งในด้านพฤติกรรมการบริโภคสินค้า รวมทั้ง
                       การบริการทางการท่องเที่ยว และพฤติกรรมทางสังคมที่ผู้ให้บริการต้อนรับสนใจศึกษา และมุ่งหวังที่
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34