Page 36 - รายงาน พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
P. 36

27







                              3.3.3  ทฤษฎีความคาดหวังของวรูม
                              “วรูม”(Vroom) เป็นนักจิตวิทยาในกลุ่มพทธินิยม ที่ศึกษาวิจัยการท างานของคนในโรงงาน
                                                                 ุ
                        ุ
                       อตสาหกรรม และได้สร้างทฤษฎีความคาดหวังไว้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1964 แม้ค าอธิบายในทฤษฎีของวรูม
                                                                                                  ี
                       อาจจะยังมีความไม่สมบูรณ์ แต่ก็พบว่าเป็นจุดเริ่มต้นส าคัญที่ท าให้มีการวิจัยต่อเนื่องมาอกมากใน
                                                                                            ุ
                       เรื่องแรงจูงใจในการท างานของคนงานในโรงงานอตสาหกรรม นักจิตวิทยาในกลุ่มพทธินิยมนี้เชื่อใน
                                                                ุ
                       เรื่องของความคิดของบุคคลว่าเป็นส่วนส าคัญในการท าให้เกิดแรงจูงใจต่อพฤติกรรม หรือการกระท า
                       แม้จะมีเรื่องของผลรางวัลหรือสิ่งเร้าภายนอกตัวเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่ปัจจัยส าคัญที่ก่อให้เกิดแรงจูงใจ

                       คือความคิดของบุคคล นักจิตวิทยาบางคนในกลุ่มนี้ศึกษาเรื่องการวางแผน บางคนศึกษาเรื่องการ
                       ตั้งเป้าหมาย แต่ส าหรับวรูมจะเน้นศึกษาเรื่องความคาดหวัง

                              ค าอธิบายของวรูมเน้นใน 2 เรื่องด้วยกัน คือเรื่องค่านิยมในงานว่าท างานแล้วคาดหวังว่าจะ

                       ได้อะไร เช่น ท างานให้ดี เพื่อหวังจะได้รับเงินเดือนเพิ่ม หรือบางคนหวังได้รับค ายกย่อง ในที่นี้เงินและ
                       ค ายกย่องเป็นค่านิยม และอีกเรื่องที่เน้นคือแรงจูงใจซึ่งก าหนดทิศทางการกระท าเพื่อให้ได้

                                 การศึกษาของวรูมนับว่าเป็นประโยชน์และเป็นจุดเริ่มต้นให้มีการศึกษาค้นคว้าเรื่องแรงจูงใจ

                                   ี
                       ในการท างานอกมาก ตัวอย่างการศึกษาที่น่าสนใจ เช่น ในปี ค.ศ. 1976 กาลเบรธและกัมมิงส์ ได้น า
                       วิธีการของเขาไปศึกษาการท างานของคนงานคุมเครื่องจักรในโรงงานการผลิตเครื่องจักร พบว่าการที่

                                                                                               ื
                       คนงานท างานส าเร็จได้ด้วยดีนั้น มีทั้งแรงจูงใจภายในและภายนอก แรงจูงใจภายนอกก็คอรางวัลหรือ
                                                                    ึ
                       ค่าตอบแทนเพม ส่วนแรงจูงใจกายในคือความรู้สึกพงพอใจที่ได้รับความส าเร็จ และในปีเดียวกัน
                                   ิ่
                       นักวิจัยชื่อลอว์เลอร์และ พอร์ตเตอร์ ได้น าวิธีการของวรูมไปศึกษากลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้จัดการฝ่าย

                                                                          ิ่
                       บุคคลในองค์การ ได้พบปัจจัยที่ส่งผลสู่ความส าเร็จของงานเพมเดิมจากที่รรูมได้ท าการศึกษาไว้ โดย
                       วรูมได้กล่าวถึงปัจจัย 2 ตัว คือ ความพยายามกับความสามารถที่เมื่อผนวกกันเข้าก็ท าให้งานส าเร็จ

                       แต่ลอว์เลอร์และพอร์ตเตอร์ได้พบจากการศึกษาวิจัยของเขาว่าปัจจัยที่ส่งผลให้คนงานท างานส าเร็จ
                       ประกอบด้วย ความพยายาม ความสามารถ และการรับรู้บทบาท คือการที่บุคคลรับรู้บทบาท ซึ่ง

                       ได้แก่การเข้าใจงานในหน้าที่ของตน จะเป็นส่วนหนึ่งที่เป็น

                              แรงจูงใจให้ท างานส าเร็จ นอกจากนั้นลอว์เลอร์และพอร์ตเตอร์ ยังเสนอแนะไว้ในการศึกษา
                                                                            ั
                       ของเขาว่า ในการให้รางวัลแก่ผู้ปฏิบัติ ควรเป็นไป โดยสัมพนธ์สอดคล้องกับความพยายามที่
                       ผู้ปฏิบัติงานได้ลงทุนลงแรงในงานนั้น ๆ

                              แนวคิดในทฤษฎีของรรูม สรุปได้ว่า แรงจูงใจในการท างานของบุคคล เกิดจาความคิดของ
                       บุคคลในการตั้งความคาดหวังในสิ่งที่กระท า ซึ่งความคาดหวังนั้นมักเป็นไปตามค่านิยมของตนท าให้

                       บุคคลพยายามท าให้ได้ หากสิ่งที่พยายามสอดคล้องกับความสามารถด้วย ก็จะเป็นแรงจูงใจที่เข้มขัน

                       ส าหรับบุคคล นอกจากนั้น ผลการศึกษาต่อเนื่องจากวรูมก็ช่วยสนับสนุนแนวคิดดังกล่าวและขังได้
                               ิ่
                       ข้อสรุปเพมขึ้นจากการที่บุคคลได้เข้าใจบทบาทการท างานของตนเป็นอย่างดี จึงเห็นได้ว่าแนวทางใน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41