Page 187 - ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย
P. 187
178
ประเด็น กรณีตัวอย่างเรื่อง “หลายชีวิต” บอกอะไรบ้างเกี่ยวกับชีวิตมนุษย์
ครูแบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็น 2 - 3 กลุ่มย่อย ให้ผู้เรียนเลือกประธานกลุ่มและเลขานุการกลุ่มเพื่อเป็น
ผู้น าอภิปรายและผู้จดบันทึกผลการอภิปรายของกลุ่มและน าผลการอภิปรายของกลุ่มเสนอต่อที่ประชุมใหญ่
จากนั้นให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายถกแถลงเพื่อหาค าตอบตามประเด็นที่ก าหนดให้ ครูติดตามสังเกต
เหตุผลของกลุ่มหากข้อมูลยังไม่เพียงพอ ครูอาจชี้แนะให้อภิปรายเพิ่มเติม ในส่วนของข้อมูลที่ยังขาดอยู่ได้
เลขานุการกลุ่มบันทึกผลการพิจารณาหาค าตอบตามประเด็นที่ก าหนด ให้เป็นค าตอบสั้น ๆ ได้ใจความ
เท่านั้น และน าค าตอบนั้นไปรายงานในที่ประชุมกลุ่มใหญ่**
ในการประชุมกลุ่มใหญ่ ผู้แทนกลุ่มย่อยน าเสนอรายงาน ครูบันทึกข้อคิดเห็นของกลุ่มย่อยไว้ที่
กระดาษปรู๊ฟ ซึ่งเตรียมจัดไว้ก่อนแล้ว เมื่อทุกกลุ่มรายงานแล้ว ครูน าอภิปรายในกลุ่มใหญ่ถึงค าตอบ
ของกลุ่ม ซึ่งจะหลอมรวมบูรณาการค าตอบของกลุ่มย่อยออกมาเป็นค าตอบประเด็นอภิปรายของกรณี
ตัวอย่าง “หลายชีวิต” ของกลุ่มใหญ่ จากนั้นครูน าสรุปค าตอบที่ได้เป็นข้อเขียนที่สมบูรณ์ขึ้น และน าค าตอบ
นั้นบันทึกในกระดาษปรู๊ฟติดไว้ให้เห็นชัดเจน
ตัวอย่างข้อสรุปของกรณีตัวอย่าง เรื่อง ตัวอย่าง
“หลายชีวิต” ปรากฏดังในกรอบด้าน ข้อสรุปผลการอภิปรายจากกรณีตัวอย่างเรื่อง
ขวามือ ตัวอย่าง ข้อสรุปนี้อาจใกล้เคียง “หลายชีวิต”
กับข้อสรุปของท่านก็ได้ --------------
คนแต่ละคนมีความแตกต่างกัน มีวิถีการด าเนินชีวิต
ที่ไม่เหมือนกัน แต่ทุกคนมีความต้องการที่คล้ายกัน คือ
ต้องการประสบความส าเร็จ ซึ่งถ้าบรรลุตามต้องการ
ของตน คนนั้นก็จะมีความสุข
กรณีตัวอย่างเรื่อง “หลายชีวิต” เริ่มเปิดตัวออกมาเป็นเรื่องแรก ผู้เรียนจะต้องติดตามต่อไป
ด้วยการท ากิจกรรมที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 ถึงที่ 5 ตามล าดับ จึงจะพบค าตอบว่า “ความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่
คืออะไรแน่ และจะเป็นปฐมบทของ “การคิดเป็น”อย่างไร พักสักครู่ก่อนนะ
** หากมีผู้เรียนไม่มากนัก ครูอาจไม่ต้องแบ่งกลุ่มย่อย ให้ผู้เรียนทุกคนร่วมอภิปรายถกแถลง หรือสนทนา
แลกเปลี่ยนความคิดกันในกลุ่มใหญ่เลย โดยมีประธานหรือหัวหน้ากลุ่มเป็นผู้น า และมีเลขานุการกลุ่มใหญ่
เป็นผู้บันทึก (ครูอาจเป็นผู้ช่วยบันทึกได้)