Page 63 - 1.ประวัติสาสตร์ชาติไทย ประถม สค.12024
P. 63

54





                              มังคละเภรี

                              สันนิษฐานว่า มังคละเภรี คงเข้ามาเผยแพร่ในอาณาจักรสุโขทัย สมัยพญาลิไท
                  (ประมาณ 600 ปีที่ผ่านมา) โดยมาพร้อมกับชาวศรีลังกา มังคละเภรี เป็นวงดนตรีที่ชาวศรีลังกา


                  ใช้ประโคมบ าเรอ พระบรมสารีริกธาตุเขี้ยวแก้วของพระพุทธองค์ อันเป็นปูชนียวัตถุส าคัญที่สุด
                  ของศรีลังกา

                              ดนตรีพื้นบ้านมังคละ เป็นการละเล่นพื้นบ้าน มาตั้งแต่ยุคสุโขทัยเป็นราชธานี เป็น

                  ดนตรีที่สืบทอดทางพระพุทธศาสนาจากศรีลังกา เข้าสู่นครศรีธรรมราชและสุโขทัย การละเล่น

                  มังคละมีหลักฐานในศิลาจารึก หลักที่ 1 ว่า “เมื่อกรานกฐิน มีพนมเบี้ย มีพนมหมาก มีพนม

                  ดอกไม้... ไปสูดญัติกฐินเถิงอรัญญิกพู้น... เท้าห้อลานด บงค กลอง ด้วยเสียงพาทย์ เสียงพิณ

                  เสียงเลื้อน เสียงขับ...”

                              ค าว่า “ด บงค กลอง” (อ่านว่า ด าบง ค ากลอง) เป็นค าโบราณที่มีใช้ตั้งแต่สมัย

                  สุโขทัย แปลว่า เป็นการประโคม หรือตีกลองที่ขึงด้วยหนัง

                                                                ค าว่า “มังคละ” แปลว่า มงคล หรือสิ่งที่

                                                          เจริญก้าวหน้า

                                                                กลองมังคละจึงเป็นดนตรีที่เป็นมงคล

                                                          เครื่องดนตรีมังคละประกอบด้วย กลองสองหน้า

                                                          จ านวน 2 ใบ กลองมังคละ (จ๊กโกร๊ด) 1 ใบ ฆ้องโหม่ง

                                                          จ านวน 3 ใบ ปี่ชวา 1 เลา ฉาบเล็ก 1 คู่ ฉาบใหญ่

                    (ที่มาภาพ : https://sites.google.com/site/   1 คู่ และอาจจะมีกรับไม้อีก 1 คู่ ก็ได้

                    watkungtaphao/kitchakam/mungkala/            ปัจจุบัน มังคละ มักใช้แห่ในงานมงคล เช่น

                    sawangkabury)                          งานบวช ทอดกฐิน เป็นต้น “วงกลองมังคละ”
                  ถ้าใช้ในงานศพ เช่น ประโคมศพ แห่อัฐิธาตุ จะใช้เฉพาะปี่ กลองสองหน้า และฆ้อง เรียกว่า


                  “วงปี่กลอง”เป็นต้น

                              1.8 สถาปัตยกรรมและปฏิมากรรมสมัยสุโขทัย


                              สุโขทัยเป็นรัฐ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อประมาณตอนกลางพุทธศตวรรษที่ 18

                  โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่วัดพระพายหลวง ต่อมาในสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ได้มีการย้ายเมืองมา

                  ตั้งอยู่บริเวณที่เป็นเมืองโบราณสุโขทัยที่รู้จักกันในปัจจุบัน โดยมีศูนย์กลางคือวัดมหาธาตุ
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68