Page 61 - 1.ประวัติสาสตร์ชาติไทย ประถม สค.12024
P. 61

52





                  ชัดถึงความเฉลียวฉลาดของบรรพบุรุษที่สื่อให้เห็นถึงดินแดนแห่งอารยธรรมยิ่งใหญ่ ที่เรา

                  ภาคภูมิใจ
                              1.6 ประเพณีกินสี่ถ้วย (ไข่กบ นกปล่อย มะลิลอย อ้ายตื้อ)


                              ตามประวัติศาสตร์ มีหลักฐานการจารึกชื่อขนมไทยในแท่งศิลาจารึก ขนมที่ปรากฏ
                  คือ ไข่กบ นกปล่อย มะลิลอย อ้ายตื้อ ซึ่งไข่กบ หมายถึง เม็ดแมงลัก นกปล่อย หมายถึง

                  ลอดช่อง มะลิลอย หมายถึง ข้าวตอก อ้ายตื้อ หมายถึง ข้าวเหนียวด า  ทั้ง 4 ชนิด ใช้น้ า

                  กระสายอย่างเดียวกันคือน้ ากะทิและน้ าตาลโตนด

                                                                มีธรรมเนียมที่จะท าขนม 4 อย่างเลี้ยงใน

                                                               งานแต่งงาน เรียกว่า ขนมสี่ถ้วย มีชื่อเป็น

                                                               ปริศนาว่า “ไข่กบ นกปล่อย มะลิลอย

                                                               อ้ายตื้อ” ซึ่ง ไข่กบ ก็คือ ขนมเม็ดแมงลัก ที่มี

                                                               รูปร่างเหมือนไข่กบ นกปล่อย คือ ลอดช่อง

                                                               ไทย ซึ่งเวลากดลงจากพิมพ์จะเหมือนปล่อย

                                                               นกจากกรง มะลิลอย คือ ข้าวตอกรูปร่างขาว ๆ

                 (ที่มาภาพ : https://www.wongnai.com/restaurants/237377Tm-   เหมือนดอกมะลิ อ้ายตื้อ คือ ข้าวเหนียวด านึ่ง
                 เสน่ห์จันทน์/photos/ 1e5018af6fae4c968601b75dcf138908)   สุกกินแล้วอิ่มตื้อหนักท้อง ขนมพวกนี้

                                                               ราดน้ ากะทิเคี่ยวกับน้ าตาลโตนด

                              พิธีกรรมการสร้างครอบครัวใหม่หรือพิธีมงคลสมรสของชาวอาณาจักรสุโขทัย

                  แต่อดีตมีความละเอียดปราณีต ดังนี้

                              1. ก่อนจัดพิธีมงคลสมรส เจ้าภาพจะต้องขึ้นไปบนเรือนของญาติผู้ใหญ่

                  แล้วนั่งพับเพียบให้เรียบร้อย บอกวัตถุประสงค์ของการมาในครั้งนี้ว่า “ขอเรียนเชิญไปนั่ง
                  การมงคลด้วยกัน” ญาติผู้ใหญ่และสัมพันธชนก็จะทราบได้ทันทีว่า เจ้าภาพเชิญไปร่วมงาน


                  มงคลสมรส พร้อมทั้งถามวันเดือนปีที่จัดพิธี ถ้าเป็นการจัดงานที่เรือนหอของฝ่ายเจ้าบ่าว
                  เรียกตามภาษาบาลีว่า อาวาหมงคล ถ้าเป็นการจัดงานที่เรือนหอของฝ่ายเจ้าสาว เรียกตาม

                  ภาษาบาลีว่า วิวาหมงคล

                              2. เมื่อญาติผู้ใหญ่และสัมพันธชน จะบอกลูกหลานและเครือญาติมิตรสหายว่าจะ

                  ไปไหน หรือมีคนถามว่าจะไปไหน จะมีค าตอบว่า “ไปกินสี่ถ้วย” หมายถึง ได้รับเชิญไปร่วมงาน

                  มงคลสมรส เมื่อตรวจดูในหนังสือดรรชนีค้นค าศิลาจารึกสุโขทัยแล้ว ไม่มีค าว่า กินสี่ถ้วย แต่มิได้

                  หมายความว่า ไม่มีพิธีกรรมการมงคลสมรสแบบนี้ในสมัยสุโขทัย เพราะค าว่า กินสี่ถ้วยเป็น
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66