Page 170 - Bright Spot 2563
P. 170
Success Story หรือ Bright Spot จากการด าเนินงานหน่วยงานแห่งความสุข
แบบฟอร์มรายงานผลการด าเนินงานไตรมาส 4
หน่วยงาน โรงพยาบาลเวียงสา จังหวัดน่าน
จังหวัด น่าน
ประเด็น Success story หน่วยงาน โรงพยาบาลน่าน
ั
โรงพยาบาลเวียงสาเป็นโรงพยาบาลขนาด 60 เตียง เป็นโรงพยาบาลที่พฒนาระบบบริการ
ประเด็น Success story หรือ Bright spot
ทุติยภูมิ 6 สาขาหลัก (บริการเฉพาะทางอายุรกรรม/ ศัลยกรรม/ ศัลยกรรมออโธปิดิกส์/ กุมารเวช
วิ่งที่ขา ยิ้มที่ตา ให้ที่ใจ : วิ่งรักษ์หัวใจ เพื่อศูนย์โรคหัวใจ งานวิ่งที่ยิ่งใหญ่ในใจทุกคน
ื่
กรรม/ สูติ-นรีเวชกรรม/ และวิสัญญี) เพอเป็นโรงพยาบาลแม่ข่ายอาเภอโซนใต้จังหวัดน่าน
บทสรุปผู้บริหาร
และมีการท างานร่วมกับชุมชนด้วยแนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัว มีบุคลากรทั้งสิ้น 251 คน รับผิดชอบ
ประชากร 70,471 คน โดยมี นพ.กฤตพงษ์ โรจนวิภาต เป็นผู้อานวยการโรงพยาบาล ขับเคลื่อน
- ชมรมเดิน-วิ่ง โรงพยาบาลน่าน ก่อตั้งขึ้นในปี 2558 จากการรวมตัวของแพทย์ พยาบาล
องค์กรสู่วิสัยทัศน์ของโรงพยาบาล “โรงพยาบาลคุณภาพ สุขภาพดี วิถีพอเพียง”
และเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล เพื่อสนับสนุนการออกก าลังกายของเจ้าหน้าที่ รพ.น่าน รวมทั้ง
การด าเนินงานองค์กรสร้างสุขโรงพยาบาลเวียงสา ขับเคลื่อนโดยกรรมการทีมสร้างสุข
เป็นตัวอย่างที่ดีให้กับพี่น้องประชาชน ให้หันมาดูแลสุขภาพ ปัจจุบันมีสมาชิกชมรมฯ
ซึ่งเป็นอนุกรรมการทีมพฒนาทรัพยากรบุคคลของโรงพยาบาลเวียงสา โดยการมีส่วนร่วมของ
ั
กว่า 150 คน
บุคลากรทุกคนในโรงพยาบาล เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของทีมพฒนาทรัพยากรบุคคล คือ “บุคลากรม ี
ั
- ชมรมฯ จัดกิจกรรมการออกก าลังกาย “เดิน-วิ่งกลิ้งก็ได้” เดือนละ ๑ ครั้ง มีผู้เข้าร่วม
ความสุข สุขภาพดี” โดยทีมเชื่อว่า ผลงานที่ดี มาจากสุขภาพกายและจิตที่ดี หากเกิดภาวะเจ็บป่วย
กิจกรรมครั้งละ ๑๕๐ คน และจัดกิจกรรม “๖๓ ปี โรงพยาบาลน่าน วิ่งต้านมะเร็ง” ในปี
หรือเกิดความเครียดความกังวล ย่อมท าให้เราไม่สามารถท างานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ บุคลากร
ิ
ิ
๒๕๖๒ มีผู้เข้าร่วมกจกรรมกว่า ๓,๐๐๐ คน รวมทั้งมีส่วนร่วมส าคัญในการจัดกจกรรม
สาธารณสุขเป็นผู้ที่ต้องดูแลสุขภาพของประชาชน ดังนั้นบุคลากรของเราจึงจ าเป็นต้องมีความสุข
เดิน-วิ่ง ในจังหวัดน่าน เช่น กิจกรรม “พยาบาลชวนวิ่ง” และ ”แสงน าใจไทยทั้งชาติ เดิน
สุขภาพดี ก่อนจึงจะสามารถดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
วิ่ง ปั่น ป้องกันอมพาต ครั้งที่ ๕ เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน” ในปี ๒๕๖๒ และมีส่วน
ั
โรงพยาบาลเวียงสาได้ด าเนินงานองค์กรสร้างสุขอย่างจริงจังตั้งแต่ปี 2562 เป็นต้นมา โดย
ร่วมส าคัญในการจัดกิจกรรมเดิน-วิ่ง ในจังหวัดน่านมากมาย
ในปี 2562 ได้ปฏิบัติตามระบบงานที่มีมาตรการต่อไปนี้ คือ
- ในวาระครบรอบ ๖๔ ปี รพ.น่าน ชมรมฯ จัดกิจกรรม “64 ปี รพ.น่าน วิ่งรักษ์หัวใจ : วิ่งที่ขา
1) มีการประเมินความสุขของบุคลากรโดยใช้โปรแกรม Happinometer และได้น าผลการ
ยิ้มที่ตา ให้ที่ใจ” เพื่อส่งเสริมการออกก าลังกาย และจัดหารายได้สนับสนุนการด าเนินงาน
ประเมินมาวิเคราะห์แก้ไข โดยได้จัดท าโครงการ Organization Development Happiness “ODH”
ของ “ศูนย์โรคหัวใจ โรงพยาบาลน่าน” ที่จะเปิดท าการในต้นปี 2563
ในวันที่ 8 - 9 กุมภาพนธ์ และ 1 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2562 น าบุคลากรที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ
ั
ไปเรียนรู้การใช้ชีวิตร่วมกันนอกสถานที่ แบ่งปันประสบการณ์ของแต่ละคน เรียนรู้ไลท์สไตล์
ื่
- ศูนย์โรคหัวใจ รพ.น่าน จัดตั้งขึ้นเพอดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจใน จ.น่าน
การด าเนินชีวิตและวิธีคลายเครียดของแต่ละบุคคล
ที่มีมากกว่า 300 รายต่อปี ลดความสูญเสียในการส่งต่อผู้ป่วยหัวใจ ที่มีภาวะวิกฤติ
ื่
2) ตรวจสุขภาพประจ าปีแก่บุคลากรโรงพยาบาลเวียงสา เพอตรวจพบความเสี่ยงก่อนหรือ
ไปยัง รพ.ศูนย์ล าปาง ซึ่งมีระยะทางไกล ใช้เวลาเดินทางหลายชั่วโมง เส้นทางเป็นเขาสูงชัน
ถ้าค้นพบโรคได้เร็วก็มีโอกาสรักษาหายหรือควบคุมได้ง่าย ในปี 2562 โรงพยาบาลได้จัดโครงการ
บางรายเสียชีวิตที่รพ. หรือระหว่างการส่งต่อ
ื่
พฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพอลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในบุคลากรสาธารณสุขเครือข่ายอาเภอเวียงสา
ั
ั
- กิจกรรมวิ่งรักษ์หัวใจ จัดในวันที่ 23 กุมภาพนธ์ 2563 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
ื่
(HLO) ที่จัดท าขึ้นเพอให้บุคลากรโรงพยาบาลเวียงสา มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถปฏิบัติตน
มงคล ล้านนา น่าน ประสบความส าเร็จอย่างยิ่งใหญ่ เริ่มต้นคาดการณ์ว่าจะมีผู้เข้าร่วม
ในการด ารงชีวิตประจ าวันที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง และสามารถ
กิจกรรมราว ๓,000 คน แต่ในการจัดงานมีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมกว่า ๕,๐๐๐ คน
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ 2 ส ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตได้ โดยจัดให้มีกิจกรรมปรับเปลี่ยน
จากทั่วทุกสารทิศ
พฤติกรรมสุขภาพด้วย “กิจกรรมชมรม”
156