Page 285 - Bright Spot 2562
P. 285

273
            273



            การขับเคลื่อนองค์กรแห่งความสุขโรงพยาบาลศรีรัตนะ จ.ศรีสะเกษ


            “ตลาดสร้างสุข”



                    ตามที่ กระทรวงสาธารณสุข ได้กำาหนดยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข โดยได้

              ำ
                                   ำ
            กาหนด เป้าหมายการดาเนินการ คือ ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืนจาก
            ยุทธศาสตร์บุคลากรเป็นเลิศ  (People  Excellence)  และกาหนดกรอบแนวทางการประเมินความสุข
                                                                       ำ
            บุคลากรกระทรวงสาธารณสุข (Happinometer) เป็นประจำาทุก 2 ปี เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการ

            ธารงรักษาบุคลากรกระทรวงสาธารณสุข  เสริมสร้างความรัก  ความผูกพันองค์กร  ลดปัญหาอันเกิดจาก
              ำ
            ปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ที่ส่งผลให้บุคลากรไม่มีความสุขในการ ทำางาน เพื่อให้การขับเคลื่อนงานในองค์กร

            มีการพัฒนาเติบโตและก้าวหน้าได้อย่างยั่งยืน

                    โรงพยาบาลศรีรัตนะ ได้ดาเนินการประเมินความสุขบุคลากร (Happinometer) ในปีงบประมาณ
                                           ำ
                                              ำ
            2562 โดยมีผู้เข้าตอบแบบประเมินจานวน 143 ราย ผลการประเมิน พบว่าค่าเฉลี่ยความสุขบุคลากร คิด
            เป็นร้อยละ 75.28 สะท้อนให้เห็นว่า บุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลศรีรัตนะ อยู่ในระดับ “มีความ

            สุข” ผู้บริหารต้องสนับสนุนให้มี ความสุขยิ่งขึ้นไป มิติที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์มีความสุข มี 8 มิติ ค่าเฉลี่ย

                                                                        ำ
            ระดับที่สูง 3 อันดับแรก ได้แก่ ครอบครัวดี จิต วิญญาณดี และน้าใจดี คิดเป็นร้อยละ 80.07 78.85 และ
                        ำ
            77.69 ตามลาดับ มิติที่มีความสุขน้อยที่สุด มี 1 มิติ คือ มิติ ผ่อนคลายดี ร้อยละ 69.69








            สุขภาพเงินดี (Happy Money)

                    ความสุขมิติที่ 8 สุขภาพเงินดี หรือ Happy Money มีค่าเฉลี่ยความสุข คิดเป็นร้อยละ 71.63 เมื่อ
            พิจารณาจากลักษณะทั่วไป พบว่า

                    - เพศ พบว่า เพศหญิง มีความสุขเฉลี่ยสูงสุดมมากกว่าเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 72.24 และ 70.12

                  ำ
            ตามลาดับ
                    - Generation พบว่า Gen Z มีความสุขสูงสุด ร้อยละ 93.75 รองลงมาเป็น Gen Y ร้อยละ 75.61
                                                                 ำ
            Gen BB ร้อยละ 70.31 และ Gen X มีค่าเฉลี่ยความสุขต่ากว่ากลุ่มอื่น คือ ร้อยละ 66.83
                                                                           ำ
                    -  ภูมิลาเนา  พบว่า  กลุ่มไม่ได้อาศัยในจังหวัดเดียวกับภูมิลาเนามีความสุขสูงกว่ากลุ่มที่อาศัยใน
                           ำ
            จังหวัด เดียวกับภูมิลาเนา ร้อยละ 83.65 และ 70.43 ตามลาดับ
                                                                    ำ
                                ำ
                    - ลักษณะงาน พบว่า ผู้ปฏิบัติงานด้านบริการ มีความสุขสูงสุด คิดเป็นร้อยละ 74.08 รองลงมา
                                                                                   ำ
            งาน ด้านวิชาการ ร้อยละ 73.75 ส่วนงานด้านสนับสนุน มีค่าเฉลี่ยความสุขต่าสุด คิดเป็นร้อยละ 62.50
                    - ระดับการปฏิบัติงาน พบว่า ผู้ปฏิบัติงานระดับผู้บริหารองค์กรมีความสุขสูงสุด คิดเป็น ร้อยละ

            100 รองลงมา คือ ระดับปฏิบัติงาน 74.23 ระดับหัวหน้าฝ่าย/หัวหน้ากลุ่มงาน/หัวหน้างาน ร้อยละ 68.75
            และ ระดับอื่นๆ ร้อยละ 59.66
   280   281   282   283   284   285   286   287   288   289   290