Page 330 - Bright Spot 2562
P. 330

318
            318



            องค์กรแห่งสร้างสุข  ความสุของค์รวม  9 มิติ โรงพยาบาลส่งเสริมสุข


            ภาพตำาบลเขาไม้แก้ว



            1. ปลูกฝังแนวคิด “องค์กรแห่งความสุข” ให้เกิดกับผู้บริหารทุกระดับ

                    องค์กรแห่งความสุข  เป็นสิ่งที่คนทุกคนในองค์กรต้องการ  แต่ในทางกลับกัน องค์กรสร้างสุข กลับ
            เป็นเรื่องที่ได้รับความสำาคัญเป็นลำาดับรองๆ  ปฏิเสธไม่ได้ว่า  ผู้บริหารองค์กรบางองค์กร  ยังไม่มีความ

            ศรัทธากับแนวคิดองค์กรแห่งความสุข  ยังมองว่า  ความสุขเป็นเรื่องส่วนบุคคล  ปัญหาแก้ยากปัญหา

            แก้ไม่ได้  การจะขับเคลื่อนให้เกิด  องค์กรแห่งความสุข  ผู้บริหารตั้งแต่ผู้กำาหนดนโยบาย  จะต้องถ่ายทอด
            หรือปรับวิธีคิดให้  ผู้บริหารองค์กร  เห็นความสำาคัญ จะเป็นปัจจัยเริ่มต้นที่ทำาให้กิจกรรมองค์กรแห่งความสุข

            จะได้รับความร่วมมือ ซึ่งอาจจะทำานายความสำาเร็จในอนาคตได้

            2. สร้างคลัง  “แหล่งเรียนรู้  ฐานข้อมูล  และองค์ความรู้” เพื่อสนับสนุนการดำาเนินงาน

                    ตัวอย่างที่ดี  องค์ความรู้ที่ถูกต้อง  เป็นฐานข้อมูลที่จำาเป็นในการช่วยให้  องค์กรสามารถดำาเนิน
            งานได้ประสบความสำาเร็จได้ง่ายขึ้น รวดเร็วขึ้น  “คลังแห่งการเรียนรู้”  เป็นคลังที่เกิดจากการรวมรวบ

            ข้อมูลมาจากทุกพื้นที่ จากการถอดบทเรียนดีดี  ทำาให้ทุกคนสามารถเข้าไปดู  เข้าไปเรียนรู้ เข้าไปหาค้นหา

            วิธีการดำาเนินงานเพื่อนำาปรับใช้    เพราะบางครั้งเราก็ไม่สามารถไปศึกษาดูงานจากสถานที่จริงได้ทั้งหมด
            คลังแห่งการเรียนรู้    น่าจะเป็นคลังที่ทุกคนเข้าถึงได้    คลังจะเป็นแหล่งสร้างแรงบันดาลใจในการทำางาน

            และเป็นช่องทางถ่ายทอดความสำาเร็จ  เป็นแหล่งที่เชิดชู  “ความภาคภูมิใจ”  ของบุคลากรในองค์กรแห่ง

            ความสุข
            3. จัดกิจกรรมให้หลากหลาย  สอดคล้องกับบริบทและกลุ่มเป้าหมาย

                    หลายองค์กรบอกว่า  ที่ดำาเนินงานองค์กรแห่งความสุขไม่สำาเร็จเพราะองค์กรของเรามีคนเยอะ

            ขับเคลื่อนยาก ซึ่งก็เป็นเรื่องจริง  จะทำาให้คนทั้งโรงพยาบาล  สองสามร้อยคนทำากิจกรรมเหมือนกัน  ย่อม
            ทำาได้ยากเพราะบริบทเราไม่เหมือนกัน บทบาทหน้าที่เราต่างกัน ทำางานต่างเวลากัน เวลาว่างเวลากินข้าว

            ต่างกัน ดังนั้นในองค์กรที่ใหญ่หน่อย  กิจกรรมองค์กรแห่งความสุข  ควรจะดำาเนินงานแยกย่อยลงไปตาม

            กลุ่มงาน  ตามฝ่าย  เพื่อจะได้ขับเคลื่อนภายใต้บริบทที่เหมาะสม  เช่น  พยาบาลต้องมีการขึ้นเวร  ควรมี

            กิจกรรมลักษณะอย่างไร  กลุ่มของลูกจ้าง ปัญหาของเขาคืออะไร  ควรแก้ไขปัญหาอย่างไร  คนกลุ่มไหน
                       ำ
            ที่มีปัญหาน้าหนักเกิน  แล้วปัญหาของเขาคืออะไร  หรือแม้กระทั่ง  ทางเลือกที่เหมาะสมควรเป็นอย่างไร
            ในแต่ละกลุ่ม  การจัดกลุ่มบุคคล จัดกลุ่มปัญหา จะสามารถทำาให้กิจกรรมองค์กรแห่งความสุข  ตอบสนอง

            กับสภาพปัญหาที่แท้จริง  แต่สามารถมีแนวทางแก้ไขที่สอดคล้องกับบริบทของกลุ่มเป้าหมาย
            4. ตัวอย่างที่ดีขององค์กรแห่งความสุข  ในระดับ  รพ.สต.  ซึ่งเป็นองค์กรที่มีเยอะที่สุดในกระทรวง

            สาธารณสุข

                    รพ.สต.เขาไม้แก้ว  อ.สิเกา จ.ตรัง  เป็นหน่วยงานในระดับ รพ.สต. ซึ่งมีบุคลากรปฏิบัติ 12 คน

            รับผิดชอบ  5  หมู่บ้าน  ประชากร  3.015  คน    ได้ริเริ่มดำาเนินงานเพื่อเป็นองค์กรแห่งความสุข    ตั้งแต่
            กระทรวงสาธารณสุขยังไม่ได้กำาหนดเป็นนโยบาย  ดำาเนินงานมากว่า  10 ปี
   325   326   327   328   329   330   331   332   333   334   335