Page 33 - 96592bac17e59a8ee6705a569be30fa2
P. 33
5. สรุปการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ธสน.
5.1 การประเมินตนเองโดยใช้แบบประเมิน KM Self-Assessment (KMA)
เป็นการประเมินความพร้อมและสถานการณ์จัดการองค์ความรู้ในองค์กร โดยคณะท างานคัด
กรองความรู้ใช้แบบส ารวจที่เป็นแบบส ารวจมาตรฐานของการจัดการความรู้ ได้แก่ KM Self-Assessment
ของสหประชาชาติ ซึ่งประเมินองค์กร 5 ด้าน ได้แก่ ด้านกลยุทธ์ในการจัดการความรู้ ด้านพฤติกรรมภาวะผู้น า
ั
ด้านการสื่อสาร ด้านพฒนาการการเรียนรู้ทั้งก่อน/ ระหว่าง/ หลังเรียนรู้ และด้านการเก็บ/ จัดระบบความรู้
และมีระดับประเมิน 5 ระดับ ได้แก่ ระดับ 5 (The way we work) ระดับ 4 (Consistently apply) ระดับ 3
(Act) ระดับ 2 (React) และ 1 (Awareness) และได้ผลการประเมิน ดังนี้
ด้าน ความเห็นประกอบการประเมิน
กลยุทธ์ในการจัดการความรู้ แม้ว่าธนาคารจะมีกลยุทฺธ์ในการจัดการความรู้ มีการจัดเตรียมและใช้
เครื่องมือหลายรูปแบบเพอการจัดเก็บความรู้ รวมถึงระบุให้การ
ื่
จัดเก็บ และแบ่งปันความรู้เป็นส่วนหนี่งในการประเมินพฤติกรรมที่พง ึ
ิ
ประสงค์ และเป็นเกณฑ์การพจารณารางวัลชื่นชมผู้ที่มีพฤติกรรมเป็น
ที่ประจักษ์ แต่ธนาคารควรที่จะสื่อสารเครื่องมือ/วิธีการในการจัดเก็บ
ิ
ความรู้ให้ทั่วถึงทั้งองค์กร และควรพจารณาเชื่อมโยงกลยุทธ์การ
จัดการความรู้กับผลการด าเนินงาน และเพอให้พร้อมกับการเข้าสู่การ
ื่
เป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม ธนาคารควรพฒนากระบวนการบริหาร
ั
จัดการทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Assets) ด้วย
พฤติกรรมภาวะผู้น า บุคลากรในองค์กรยังมองว่าการจัดการความรู้เป็นบทบาทของ
บุคลากรด้านการจัดการความรู้ ได้แก่ SME และ KM Ambassador
ที่ได้รับการคัดเลือกเท่านั้น ไม่ใช่หน้าที่ของตน และอาจคิดไปว่า
ผู้บริหารยังไม่ได้ให้ความส าคัญกับการจัดการความรู้มากนัก การ
จัดการความรู้ยังไม่ได้รับการสนับสนุนระดับนโยบาย จึงยังไม่ต้อง
เสียสละเวลาไปกับการจัดการความรู้มากนัก อีกทั้งยังไม่เห็นประโยชน์
หรือผลจากการไม่มีการจัดการความรู้ที่ชัดเจน
31 | ห น้ า