Page 153 - ธรรมะบรรยาย2564
P. 153
ฝึกแล้วฝึกอีก ๆ มันจะไม่รู้ได้อย่างไร แล้วเขียน ก ไก่ หมื่นครั้งแสนครั้งล้านครั้ง มันจะไม่รู้ได้
ู้
อย่างไรว่า ก ไก่ รู้แล้วมันจะเขียนผิดเหรอ มันก็จะไม่ผิด ที่ไม่ผิดเพราะว่าเราร
เพราะฉะนั้น ท่านทั้งหลาย การปฏิบัติธรรมนี้มันจะต้องเข้มบ้างบางครั้งและก็หย่อนบ้าง
บางครั้ง กว่าจะรู้ว่าความพอดีมันจะเกิดขึ้นมันอยู่ตรงไหนกันแน่ เราก็ต้องตึงบ้างหย่อนบ้าง อ้อตึง
ไปมันก็รู้ อ้อหย่อนไปมันเป็นอย่างนี้เอง ทีนี้ถ้าตึงตลอดก็ไม่รู้ว่าหย่อนมันเป็นอย่างไร หย่อนก็ไม่รู้
่
ว่าตึงเป็นอย่างไร ตึงบ้างหย่อนบ้างอ้อมันลงตัวอยู่ตรงนี้ เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้าจึงตรัสวา วสีทั้ง
ห้า ชำนาญในการเข้า ชำนาญในการออก ชำนาญในการดำรงอยู่ เข้าออก ๆ แล้วก็ดำรงอยู่เป็น
อย่างไร ตั้งอยู่อย่างนี้เป็นอย่างไร มันรู้ไหม ในที่สุดมันก็ต้องรู้ พอรู้แล้ว อ้อ มันอยู่ตรงนี้เอง ความ
พอดี แต่จะรู้ความพอดีต้องฝึกเป็นล้าน ๆ ครั้ง ทำได้ไหมล่ะ ๆ ได้ ต้องคิดว่าอย่างนี้ ได้ พระพุทธเจ้า
ก็เป็นมนุษย์ เราก็เป็นมนุษย์ที่กำลังฝึก ที่กำลังฝึก ฝึก ฝึก ฝึก หลวงปู่มั่นยังพูดว่า ฝึกเมื่อไหร่จึงจะ
จบ ฝึกจนตายนั่นแหละ หลวงปู่มั่นว่าอย่างนี้ ฝึกไปจนกระทั่งเราตาย ฝึกเดิน ฝึกกิน ฝึกอ่าน ฝึกพูด
ฝึกคิด แต่เมื่อฝึกแล้วมันก็ต้องถูกจนได้ พอฝึกมันผิด มีผิดมีถูก มีผิดมีถูก เรื่องธรรมดา ไม่มีมนุษย์
คนไหนทำอย่างนี้แล้วถูกตลอดตั้งแต่เกิดจนถึงตาย ใครบ้างที่ทำถูกตลอด แม้แต่พระพุทธเจ้ายังผิด
เลย เราเป็นพระพุทธเจ้าเหรอ ไม่ได้เป็น ไม่ได้เป็นก็ต้องผิดซิ เพราะฉะนั้น เรื่องผิดเป็นธรรมดา ต้อง
คิดอย่างนี้ สักวันต้องถูก ๆ ต้องคิดอย่างนี้ แล้วในที่สุดก็ต้องทำถูกต่อไป
เพราะฉะนั้น การสรางบุญกุศล เช่น การสวดมนต์บางครั้งก็ช้า บางครั้งก็เร็ว ที่สวดเร็วก็ฝึก
้
็
ให้เรามีสติตื่นตัว ถ้าสวดช้า ๆ มันก็จะหลับเอาง่าย ๆ มันจะง่วง อันนี้เป็นเคลดลับของเจ้าประคุณ
สมเด็จพระญาณวชิโรดม ท่านบอกไว้ เวลาจะจบต้องเร่งหน่อย จะได้รวมพลังกันเต็มที่ ถ้ารวมพลัง
แล้วมันจะตื่น พอตื่นก็จะสวดกันอย่างเต็มที่ พอสวดกันเต็มที่ก็จะเกิดพลังจิต อันนี้เองเป้าหมาย
ของท่านต้องการอยากให้เราสวด เพราะฉะนั้น วัดเทพเจติยาจารย์ อาตมาเป็นลูกศิษย์หลวงพ่อ ทุก
ท่านเป็นลูกศิษย์หลวงพ่อ เมื่อเป็นแล้วก็เจริญรอยตามท่านจะผิดอะไรเล่า เราก็เจริญตามรอยหลวง
พ่อ เราเป็นศิษย์ท่าน ท่านบอกให้เราไปตายเหรอ สวดแล้วมันจะตายเหรอ ไม่ตาย เมื่อไม่ตาย สวด
เพื่ออะไร เพื่อให้เรามีสติ พอมีสติก็มีสมาธิ พอมีสมาธิก็เกิดปัญญา ท่านวาอย่างนี้ พอเกิดปัญญาก็
่
แยกแยะได้ เพราะฉะนั้น เราฝึกกี่ครั้ง มันถึงจะเป็นอย่างนี้ อย่างอาตมาสวดไม่รู้กี่ครง สวดแล้วสวด
ั้
อีก สวดแล้วสวดอีกอยู่อยางนี่ มันยังผิดพลาดอยู่เลย สติยังแวบไปโน้นแวบไปนี่ อาตมายังผิดเลย
่
ไม่ใช่ว่าถูกตลอด
การผิดเป็นเรื่องธรรมดา การถูกเป็นเรื่องธรรมดาเหมือนกัน ธรรมดาหมายความว่าคือคนนั้น
็
คล่องแล้ว เกิดความชำนาญแล้ว เพราะฉะนั้น เราผดเราถูก สวดช้าสวดเรวไม่เป็นไร ขอให้มีจิตใจ
ิ
๑๕๓