Page 133 - Advande_Management_Ebook
P. 133
พลต�ารวจตรี ดร.สุพิศาล ภักดีนฤนาถ 131
ตัวชี้วัดขององค์กรนั้นๆ เช่น เมื่อนักศึกษาได้ท�าการทบทวนวรรณกรรมในการที่จะ
ใช้เครื่องมือการจัดการองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organisation) นั้นจะพบ
ว่าปัจจัยที่มีความส�าคัญย่อย คือ 1) ความรอบรู้แห่งตน (Personal Mastery)
2) แบบแผนความคิดอ่าน (Mental Models) 3) วิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision)
4) การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning) 5) การคิดอย่างเป็นระบบ (System
Thinking) นักศึกษาที่ท�างานวิจัยสามารถน�าไปประยุกต์และสร้างค�านิยามศัพท์
เฉพาะที่เกี่ยวกับองค์กรที่จะศึกษา และน�าไปสู่การสร้างเครื่องมือในการวิจัยทั้งเชิง
ปริมาณและเชิงคุณภาพได้ท�าให้เกิดความเชื่อถือและมีความแม่นย�าตลอดจนความ
ถูกต้อง ในการสร้างเครื่องมือในการวัดหรือตรวจสอบปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
(Phenomenon) ดัง กรอบความคิดในงานวิจัยของผู้เขียนเอง ตามภาพประกอบ 21
(สุพิศาล ภักดีนฤนาถ. 2557: 18)
สภาพ ปัญหา ความต้องการ และ
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการเป็น
องค์การแห่งการเรียนรู้
– งานถวายอารักขาและความปลอดภัย
– งานป้องกัน
– งานปราบปราม
– งานสืบสวน
– งานสอบสวน
แนวทางการพัฒนา
กองบังคับการปราบปราม
ปัจจัยองค์กร ปัจจัยส่วนบุคคล สู่องค์การแห่งการเรียนรู้
– ด้านโครงสร้าง อายุ ระดับการศึกษา
– ด้านวัฒนธรรม ประสบการณ์ในการท�างาน
– ด้านภาวะผู้น�า Strategy
– ด้านการติดต่อสื่อสาร Management
– ด้านเทคโนโลยี ระดับการเป็น Analvsis
ปัจจัยการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ ศักยภาพในการเป็น
– ด้านการจัดบรรยากาศ – ความมุ่งมั่นในการพัฒนาตนเอง
– ด้านการเพิ่มอ�านาจสมาชิก – การมีโลกทัศน์กว้างไกล องค์การแห่งการเรียนรู้
– ด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล – การเรียนรู้เป็นทีมงาน ของกองบังคับการปราบปราม
– ด้านการให้รางวัล – การมีวิสัยทัศน์ร่วม
– ด้านการจัดการความรู้ – แนวคิดเชิงระบบ
นโยบายส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ ปี 2555
– นโยบายทั่วไป
– นโยบายเน้นหนัก
ที่มา : วิทยานิพนธ์ ของผู้เขียน แนวทางการพัฒนากองบังคับการปราบปรามสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาปรัญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนอร์
ทกรุงเทพ.(สุพิศาล ภักดีนฤนาถ. 2557: 18)
ภาพประกอบ 21 แสดงการน�าเอาเครื่องมือการจัดการขั้นสูงและปัจจัยย่อยต่าง ๆ มาใช้เป็น
ส่วนหนึ่งในกรอบความคิดในงานวิจัยของผู้เขียน