Page 137 - Advande_Management_Ebook
P. 137

พลต�ารวจตรี ดร.สุพิศาล ภักดีนฤนาถ                              135
























             ที่มา: กูเกิล
             ภาพประกอบ 22   แสดงการเติบโตของระบบทรานซิสเตอร์ ตั้งแต่ปี 1970 อย่างต่อเนื่อง


                    กฎของมัวร์ (Moore’s law) อธิบายถึง ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจร

             รวม โดยจะเพิ่มเป็นเท่าตัวประมาณทุก ๆ สองปี กฎได้ถูกพิสูจน์อย่างต่อเนื่องมา
             แล้วกว่าครึ่งศตวรรษ และคาดว่าจะใช้ได้จนถึงปี 2015 หรือ 2020 หรืออาจมาก

             กว่านั้น ตามตาราง 3 แสดงการเปรียบเทียบ
                    กฎของมัวร์ คือความสามารถของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มากมาย เป็นไปตาม
             กฎของมัวร์อย่างเห็นได้ชัด เช่น ความเร็วประมวลผล ความจุของแรม เซ็นเซอร์ หรือ

             แม้แต่จ�านวนพิกเซลของกล้องดิจิทัล ทั้งหมดนี้เป็นข้อมูลสนับสนุนอย่างคร่าว ๆ (ยัง
             มีกฎอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเช่นราคาต่อหน่วย) การพัฒนาของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ มีผล

             ต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ กฎของมัวร์ได้อธิบายแรงการ
             ขับเคลื่อนของเทคโนโลยี ตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 20 ไปจนถึงต้นศตวรรษที่ 21
                    ชื่อของกฎถูกตั้งตามชื่อของ อดีตซีอีโอและผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทล กอร์-

             ดอน มัวร์ (Gordon E. Moore) เขาได้อธิบายกฎนี้ไว้ในรายงานของเขาเมื่อปี 1965
             รายงานนั้นได้ระบุไว้ว่า จ�านวนของส่วนประกอบในวงจรรวมจะเพิ่มเป็นเท่าตัวทุก ๆ

             ปี ตั้งแต่ปี 1958 ไปจนถึง 1965 และคาดว่าจะเป็นอย่างนี้ไปอีก “อย่างน้อยสิบปี”
             การท�านายของเขายังเป็นไปตามที่คาดไว้อย่างน่าประหลาดใจ อย่างน้อยกฎนี้ปัจจุบัน
             ยังถูกใช้ในอุตสาหกรรมสารกึ่งตัวน�าที่ได้ถูกใช้เป็นแนวทางของแผนที่จะเป็นเป้าหมาย

             ของของการวิจัย และพัฒนา (วิกิพีเดีย. 2561 : ออนไลน์)
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142