Page 155 - Advande_Management_Ebook
P. 155
พลต�ารวจตรี ดร.สุพิศาล ภักดีนฤนาถ 153
and Tools) 4) การเรียนรู้(Learning) 5) การวัดผล (Measurement) 6) การยกย่อง
ชมเชยและการให้รางวัล (Recognition and Rewards) โดยสรุป กระบวนการ
บริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process : CMP) ทั้ง 6
ขั้นตอน เป็นแผนช่วยในการน�าบุคลากรเข้าสู่กระบวนการจัดการความรู้ ซึ่งถือ
เป็นการสร้างสภาพแวดล้อมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสร้าง แสวงหา และบริโภค
ความรู้ขององค์กรนั้นๆ.
ในบทความวิชาการของ ชาติชาย คงเพ็ชรดิษฐ์ และธีรวัฒน์ จันทร์ทึก
(2559: บทคัดย่อ) ได้เสนอว่า การบริหารการเปลี่ยนแปลงองค์การกับบทบาทของ
ภาวะผู้น�าและการสื่อสารองค์การ ถือว่ามีความส�าคัญมากส�าหรับองค์การในปัจจุบัน
ที่ต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องและการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น องค์การ
จ�าเป็นต้องขับเคลื่อนภารกิจต่างๆเพื่อความอยู่รอดเจริญเติบโตและสามารถด�าเนิน
กิจการต่อไปได้อย่างมั่นคงยั่งยืน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการบริหารจัดการทรัพยากร
มนุษย์โดยองค์การและผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงได้ทราบถึง การด�าเนินการในสภาพที่ต้อง
เผชิญกับการเปลี่ยนแปลงขององค์การและบทบาทของภาวะผู้น�าและการสื่อสาร
องค์การซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการไปหาจัดการทรัพยากรมนุษย์ให้มี
ประสิทธิภาพและผลต่อไป
ผู้เขียนจึงขอสรุปในหลักการบริหารการเปลี่ยนแปลง คือ กระบวนการบริหาร
จัดการที่เกิดจากรูปแบบของการวิวัฒนาการการจัดการที่ถูกพัฒนา จากสถานการณ์
ที่เกิดขึ้นของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และบริบทของสิ่งแวดล้อมในสังคม
โลก จนท�าให้ต้องวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก จากปัจจัยภายนอกและภายใน
เพื่อน�าสิ่งเหล่านั้นในองค์กรโดยเฉพาะทรัพยากรมนุษย์ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการ
เปลี่ยนแปลงด้วยการเปลี่ยนและพัฒนา ด้วยสภาวะของผู้น�าการเปลี่ยนแปลง การ
สื่อสารองค์กร และข้อมูลที่ทันสมัย มาลงมือปฏิบัติอย่างกระฉับกระแฉง ประเมินผล
แล้วปรับแก้ทันทีน�าไปสู่การบริหารการจัดการที่ทันสมัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
สามารถท�าให้องค์กรอยู่รอดในการแข่งขันของแต่ละองค์กร เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ
มีประสิทธิผลอย่างสูงสุด ถือว่าเป็นแนวคิดการจัดการขั้นสูง ในเบื้องต้นและเป็น
พื้นฐานที่ส�าคัญของการจัดการขั้นสูงซึ่งนอกจากนี้ไปแล้วอาจจะมีแนวคิดที่ดีอื่น ๆ
กว่านี้และถูกปรับเปลี่ยนมาเพื่อใช้ในการท�างานของคน ระบบและองค์กรให้ทันสมัย