Page 38 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 38
Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry
24
development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
• การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือและระบบส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยร่วมมือกับ ISPE,
APAC และ BIO international
• การพัฒนาบุคลากรตลอดห่วงโซ่คุณค่าการพัฒนาเภสัชภัณฑ์และเซลล์บ าบัด
4. การสนับสนุนของส านักงานพฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยศูนย์บริหารจัดการ
ั
เทคโนโลยี (Technology Management Center; TMC) เช่น โปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรม
(Innovation Technology Assistance Program: ITAP) งานกระตุ้นการวิจัยและพัฒนาภาคเอกชน (Private
Sector R&D Promotion Program: RDP) และงานส่งเสริมนวัตกรรมสู่เชิงพาณิชย์
5. ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้ประกาศกฎระเบียบใหม่ ๆ ทั้งที่เกี่ยวกับการ พัฒนาและ
การขึ้นทะเบียนยาสามัญ รวมถึงประกาศนโยบายแนวทางและขั้นตอนการด าเนินงานที่ชัดเจน เพื่อให้เกิดการ
ั
ั
ส่งเสริมการพฒนายาใหม่ในประเทศ มีการประกาศหลักเกณฑ์ส าหรับการขึ้นทะเบียนของยาใหม่ที่พฒนาจากตัวยา
เดิมและจัดตั้งกลุ่มงานเฉพาะเพื่อให้ค าแนะน าและรับผิดชอบเรื่องการขึ้นทะเบียนยา
ภาพที่ 8 ปัจจัยความเสี่ยงต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศ
2. สถานการณ์อุตสาหกรรมยาชีววัตถุในประเทศไทย
ปัจจุบันประเทศไทยเป็นผู้น าเข้ายาชีววัตถุ ซึ่งส่วนใหญ่มีราคาแพงมาก เนื่องจากยาชีววัตถุส่วนใหญ่ยังคง
ติดสิทธิบัตร มีราคาสูงและส่วนใหญ่ยังไม่อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ในขณะที่ผู้ป่วยในประเทศมีความจ าเป็น
ต้องการใช้ยาชีววัตถุ เมื่อพิจารณาความสามารถในการผลิตในประเทศไทย ประเทศไทยยังไม่มีขีดความสามารถ
เพียงพอในการผลิตยาชีววัตถุด้วยตนเอง ศักยภาพในการวิจัยและพัฒนายาชีววัตถุยังอยู่ในระดับเริ่มต้น เนื่องจาก
ขาดเทคโนโลยี ขาดบุคลากร ขาดการสนับสนุนที่เพียงพอและเป็นระบบจากภาครัฐ รวมไปถึงขาดการลงทุนและไม่
ุ
มีแผนการพัฒนาที่มุ่งเน้นไปที่อตสาหกรรมยาชีววัตถุ ซึ่งถือเป็นความเสี่ยงของประเทศอย่างยิ่งในแง่ของความมั่นคง
ทางด้านสุขภาพของประชาชน