Page 37 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 37

การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศด้านความพร้อมของอุตสาหกรรมและการเข้าถึงยา   23



               เผยแพร่ความรู้ และพัฒนาบุคลากรด้านชีววิทยาศาสตร์ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ได้ก าหนดทิศ

               ทางการด าเนินงานในระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2562 – 2566) “ขับเคลื่อนวิทยาศาสตร์การแพทย์และสุขภาพให้สร้าง
               มูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมเพิ่มขึ้นเป็น 1 ใน 10 อุตสาหกรรมสูงสุด ภายในปี 2580” โดยให้ความสนใจมุ่งไปที่

               โครงการวิจัยและพัฒนายาจากสารสกัดผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ พัฒนาเทคโนโลยีเซลล์และยีนบ าบัด พัฒนาผลิตภัณฑ ์

               ชีวเภสัชภัณฑ์ ชีววัตถุ ตลอดจนพัฒนาสูตรต ารับยาสามัญ (generics) ด้วยเทคโนโลยีระบบน าส่งยาที่ทันสมัย การ
               ด าเนินงานของศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ ได้แก่

                          •  โครงการพัฒนายา วัคซีน และชีววัตถุเพื่อใช้เองในประเทศและส่งออก (Biopharmaceutical:

                              อุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ์ของไทย) ร่วมมือกับ ส านักงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

                              มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยมหิดล สภากาชาดไทย และสถาบัน
                              วัคซีนแห่งชาติ โดยได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ดังนี้ Erythropoietin, Growth Hormone, Trastuzumab

                              และการผลิตแอนติบอดีที่จ าเพาะและมีฤทธิ์ยับยั้งการติดเชื้อ EV71 ที่มีอาการรุนแรง

                          •  โครงการเภสัชพันธุศาสตร์ ร่วมมือกับองค์กรต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกต่างประเทศ ผลการ

                              ด าเนินงานทีผ่านมาน าไปสู่โอกาสในการพัฒนาองค์ความรู้ในหลายรูปแบบ ได้แก่ การสร้าง
                              ฐานข้อมูลพันธุกรรมระดับจีโนมในรายบุคคล การสร้างองคความรู้ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางชีวสา
                                                                              ์
                              รสนเทศระดับจีโนม การพฒนาชุดตรวจยีนแพ้ยาในประชากรไทย การศึกษาทางคลินิกเพื่อยืนยัน
                                                    ั
                              ประสิทธิภาพของชุดตรวจยีนแพ้ยา และการแปลผลการตรวจยีนแพ้ยาเพื่อใช้ในการรักษาเฉพาะ
                              บุคคล

                          •  การพัฒนาสูตรต ารับและเทคโนโลยีระบบน าส่งยาสามัญใหม่ ร่วมมือกับคณะเภสัชศาสตร์

                              จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ด าเนินการศึกษา roadmap และ คัดเลือกตัวยาที่เป็นความต้องการ
                              และมีโอกาสทางการตลาด 2 ชนิด

                                                                  ื
                                                                                                          ั
                          •  ความร่วมมือการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมอระดับนานาชาติในการคนหาสารออกฤทธิ์เพอพฒนา
                                                                                                       ื่
                                                                                       ้
                              ยาใหม่ (NPDD)
                          •  โครงการเทคโนโลยีเซลล์และยีนบ าบัด โดยร่วมมือกับ ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ

                              เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยมหิดล
                              สภากาชาดไทย และสถาบันวัคซีนแห่งชาติ  จัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านการค้นหาตัวยา

                              (Excellence Center for Drug Discovery: ECDD) ร่วมกับคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

                              เพื่อค้นหาสารออกฤทธิ์ทางยาด้วยเทคโนโลยี High Throughput Screening และ High Content
                              Screening เพื่อพัฒนายาใหม่ต่อไปในอนาคต ศูนย์ปฏิบัติการผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อเซลล์และยีน

                              บ าบัด: GMP Production Unit for Cell and Gene Therapy Products, Cell and gene

                              Production Unit: CPU และศูนย์ให้บริการผลิตเซลล์เชิงพาณิชย์: Automated Tissue Kulture:
                              ATK
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42