Page 32 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 32

Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry
           18
                 development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP


                       เมื่อพิจารณาขนาดของอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศ ระหว่างปี พ.ศ. 2556 - 2558 จะเห็นว่าส่วนใหญ่คิด

                                                                                      ุ
                                              ี
               เป็นร้อยละ  80  เป็นอุตสาหกรรมที่มมูลค่า  ต ่ากว่า  500  ล้านบาท  หรือกล่าวได้ว่าอตสาหกรรมผลิตยาในประเทศ
               เพียงร้อยละ 20 ที่น่าจะมีศักยภาพในการสร้างนวัตกรรมต่อไปเช่นเดียวกับขนาดของอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศ
               ระหว่างปี พ.ศ. 2562 จ านวนผู้ประกอบการแยกมูลค่าน าเข้า น าเข้าและผลิต และผลิต ในปี พ.ศ. 2562 (ตาราง 1)

               อย่างไรก็ตาม คาดการณว่าการผลิตยาแผนปจจุบันของไทยที่เป็นยาชื่อสามัญ น่าจะมีการเติบโตเพิ่มขึ้น เนื่องจากยา
               สิทธิบัตรหลายตัวก าลังหมดอายุลง

               ตาราง 1 จ านวนผู้ประกอบการแยกมูลค่าน าเข้า น าเข้าและผลิต และผลิต ปี พ.ศ. 2562

                                                                       ปี พ.ศ. 2562
                         มูลค่าตลาด
                                                  น าเข้า     น าเข้าและผลิต       ผลิต             รวม

                   มากกว่า 10,000 ล้านบาท           2                -               0               2

                   5,000 – 10,000 ล้านบาท           7               1                0               8

                   1,000 – 5,000 ล้านบาท           22               7               13               42
                    500 – 1,000 ล้านบาท            21               4               10               35

                     100 - 500 ล้านบาท             30               7               37               74

                    น้อยกว่า 100 ล้านบาท           88                -              44              132

                            รวม                    170              19              104             293
               ที่มา : ข้อมูลจากส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา



                       การพัฒนาอุตสาหกรรมยา  22,23
                       ยาสามัญ ตลาดยาสามัญในประเทศไทยเองมีศักยภาพในการแข่งขันและส่งออก ประเทศเป้าหมายที่ควร

               ส่งเสริมให้มีการส่งออกคือ กลุ่มประเทศเพื่อนบ้านในแถบภูมิภาคอาเซียน ได้แก่ เวียดนาม กัมพูชา เมียนมาร์ และ

               ฟิลิปปินส์  ในแถบเอเชีย ได้แก่ ญี่ปุ่น และฮ่องกง  นอกจากนี้กลุ่มประเทศที่ยังไม่พัฒนา เช่น แอฟริกาใต้ และ
               อเมริกาใต้ก็เป็นกลุ่มที่มีความต้องการยาสามัญจากประเทศไทย

                       ยาแผนโบราณและสมุนไพร มีโอกาสเติบโตได้อีกมาก เนื่องด้วยปัจจัยสนับสนุนหลายประการ ได้แก่

               นโยบายแห่งชาติด้านยา และยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2564 ที่รัฐให้การสนับสนุนการ

                  สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมปี 2559 และแนวโน้มปี 2560 [อินเทอร์เน็ต]; 2560 [เข้าถึง
               เมื่อ 25 มีนาคม 2560]. เข้าถึงได้จาก.
               http://www.oie.go.th/sites/default/files/attachments/industry_overview/annual2016.pdf.

               22  Thaiherbmedicine. แนวโน้มหรือการกำหนดตำแหน่งทางการตลาดของอุตสาหกรรมยาไทย [อินเทอร์เน็ต]; 2560 [เข้าถึงเมื่อ
               17 มีนาคม 2560]. เข้าถึงได้จาก. https://thaiherbmedicine.wordpress.com/คลังข้อมูล/อุตสาหกรรมยาไทย/แนวโน้มหรือ
               การกำหนดตำแ/.

               23  สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. รายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร โครงการจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนา
               อุตสาหกรรมยา. 2553.
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37