Page 31 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 31
การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศด้านความพร้อมของอุตสาหกรรมและการเข้าถึงยา 17
ิ่
การส่งออกยาในประเทศอาเซียน ทั้ง 9 ประเทศ พบว่า การส่งออกในประเทศเวียดนามมีแนวโน้มเพม
สูงขึ้นแต่มีลดลงในปี พ.ศ. 2561 ส่วนประเทศที่รองลงมาคือประเทศพม่ามีการส่งออกเพมขึ้นอย่างคงดีและต่อเนื่อง
ิ่
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 – 2562
ภาพที่ 7 จ านวนประเทศที่ประเทศไทยส่งออกยาแยกตามภูมิภาคของโลก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 – 2562
ประเทศที่ส่งออกแนวโน้มมีจ านวนประเทศที่ประเทศไทยส่งออกเพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่ประเทศไทยส่งออกเป็น
หลักในภูมิภาคเอเชีย รองลงมาคือภูมิภาคยุโรป จะเห็นว่านอกจากแนวโน้มการส่งออกที่เพิ่มขึ้นแล้วยังมีจ านวน
ี
ประเทศที่ส่งออกเพิ่มขึ้นในภูมิภาคยุโรปอย่างคงที่อกดวย
ส าหรับกรณีน าเข้า ในปี 2559 ตลาดน าเข้าที่ส าคัญของประเทศไทย 5 ล าดับแรก คือ เยอรมนี ฝรั่งเศส
อินเดีย อิตาลี และสหราชอาณาจักร นอกจากนี้ยังมีตลาดน าเข้าจากประเทศจีนอีกประเทศหนึ่ง การน าเข้ายาจาก
ิ
อินเดียและจีนคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 10.0 ของมูลค่ายาน าเข้า ยาที่น าเข้าจากประเทศจีนและอนเดีย มียา
หลายชนิดที่ประเทศไทยสามารถผลิตเองได้ แต่ต้องน าเข้าเนื่องจากมีราคาที่ถูกกว่าซื้อในประเทศเอง ทั้งนี้
เนื่องมาจากการผลิตยาในประเทศมีต้นทุนการผลิตที่สูงกว่าทั้งในส่วนของค่าแรงและวัตถุดิบ ที่ไม่สามารถผลิต
วัตถุดิบได้เอง จึงท าให้ประเทศไทยเองเสียส่วนแบ่งทางการตลาดในผลิตภัณฑ์ยาที่เราก็สามารถผลิตได้
21
ิ
21 สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมปี 2558 และแนวโน้มปี 2559 [อนเทอร์เน็ต]; 2559 [เข้าถึง
เมื่อ 12 มีนาคม 2560]. เข้าถึงได้จาก.
http://www.oie.go.th/sites/default/files/attachments/industry_overview/annual2015.pdf.
สำนักงานเศรษฐกิจอตสาหกรรม. รายงานภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมรายไตรมาส, ไตรมาส 1 ปี 2559 (มกราคม-มีนาคม 2559)
ุ
[อินเทอร์เน็ต]; 2559 [เข้าถึงเมื่อ 12 มีนาคม 2560]. เข้าถึงได้จาก.
http://www.oie.go.th/sites/default/files/attachments/industry_overview/r_janmar59.pdf