Page 120 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 120

ี
                       Efavirenz WHO PQ: กรณศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ         | 102




                                เสนอผู้อ านวยการการขอเงินเพิ่มพิเศษโดยเป็นเสมือนค่าเคลื่อนย้าย โดยให้พนักงานทุกคนจนถึงระดับผู้อ านวยการ
                       กองที่มีสัญญาจ้างงานที่พระรามหกและย้ายไปปฎิบัติงานที่องค์การเภสัชกรรม ธัญบุรี
                          b.  ปัญหา อุปสรรค
                                เนื่องจากขณะนั้นองค์การเภสัชกรรมประสบปัญหาเพราะยังขาดองค์ความรู้เกี่ยวกับ WHO PQ  มาตรฐาน GMP ของ
                       ไทยในปี พ.ศ. 2553 ยังไม่มี GMP PIC/S  ในส่วนระบบบริหารจัดการคุณภาพ (Quality Management System)  รวมทั้ง QA Officer
                       ที่อยู่ใน production area ยังไม่มีความจ าเป็นในประเทศไทย นอกจากนี้ Quality tool ทั้งหลายเช่น Deviation , Change control,
                       Out of Specification, Supplier Qualification ยังไม่มีการ implement อย่างจริงจัง รวมถึง การบริหารความเสี่ยงก็เป็นเรื่องใหม่ใน
                       ประเทศไทย
                                                                      ึ่
                                โรงงานผลิตยารังสิต 1 ตั้งอยู่ที่ต าบลบึงสนั่น จ.ปทุมธานี ซงห่างจากส านักงานใหญ่ถึง 70 กิโลเมตร การที่จะสรรหา
                       บุคลากรเดิมย้ายไปปฎิบัติงานโดยไม่มีแรงจูงใจเป็นเรื่องยากนอกจากจะมีคนที่ยอมเสียสละและอยากเรียนรู้สิ่งใหม่เท่านั้น
                          c.  แนวทางแก้ไขปัญหา
                                                                                                       ์
                                เพื่อแก้ปัญหาการขาดองค์ความรู้เกี่ยวกับ WHO PQ องค์การเภสัชกรรมได้เสนอขออนุมัติจากคณะกรรมการองคการ
                       เภสัชกรรมในแผนงานจัดจ้างที่ปรึกษาโครงการขอรับรอง WHO Prequalification ณ โรงงานผลิตยารังสิต งบประมาณ 20 ล้านบาท
                       โดยมีวัตถุประสงค  ์
                                 1.  เพื่อให้องค์การเภสัชกรรมได้รับการรับรองมาตรฐาน GMP จาก WHO และมาตรฐานอื่นๆ ในระดับสากล
                                 2.   ผลิตภัณฑ์ยาต้านไวรัสเอดส์ 2 รายการ ขององค์การเภสัชกรรม ได้รับการ รับรองใน  WHO Prequalification
                                     Scheme
                                 3.   เพื่อให้บุคลากรได้รับการพัฒนาและพร้อมรับการตรวจประเมินระดับสากล
                                     ในการคัดเลือกที่ปรึกษาจาก 3 บริษัทคือ Global Compliance International , Kloppert Pharma Alliance
                       (K.I.P.A) และ SIDVIMS  ได้มีการจัดตั้งคณะท างานที่ประกอบด้วย ผู้แทนจากอภ. อย.และกรมวิทย์ฯ เพื่อร่วมกันก าหนดหลักเกณฑ์การ
                       คัดเลือก ผลจากการคัดเลือกได้ที่ปรึกษาจากประเทศออสเตรียชื่อบริษัท Kloppert Pharma Alliance (K.I.P.A)  ระยะเวลาในแผนจาก
                       ตุลาคม พ.ศ. 2553 - กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ตามตารางที่ 2  โดยบริษัทเริ่มงานในเดือนเมษายน พ.ศ. 2554 เข้ามาให้ความรู้ด้านการ
                                                                                                     ุ
                       เตรียม Product dossier และทบทวน Standard operating procedure (SOP) เอกสาร validation  ที่เกี่ยวข้องกับระบบคณภาพ
                                      ์
                       โดยทีมบุคลากรขององคการเภสัชกรรมเป็นคนเขียนเอกสารใหม่ทั้งหมด โดยขณะนั้นคาดว่าโรงงานผลิตยารังสิต  1 จะแล้วเสร็จเริ่ม
                       ด าเนินการผลิตในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 แต่เนื่องจากองค์การเภสัชกรรมประสบปัญหาด้านการก่อสร้างท าให้ต้องยกเลิกสัญญาจ้าง
                                                                             ิ
                       บริษัทก่อสร้าง ท าให้การขอรับรอง WHO PQ ล่าช้าออกไปด้วย ดังนั้นหลังจากได้รับเงนงวดแรกในงานให้ความรู้และทบทวนเอกสาร
                       บริษัท Kloppert Pharma Alliance จึงขอยกเลิกสัญญากับองคการเภสัชกรรมในงานโครงการขอรับรอง WHO Prequalification ณ
                                                               ์
                       โรงงานผลิตยารังสิต
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125