Page 185 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 185

บทที่ 6 ผลการศึกษาและอภิปรายผล ส่วนที่ 3: แนวปฏิบัติในการผลิตยาเพื่อรับการรับรอง WHO PQ                        | 167








                                  1.5  Quality Risk Management

                                        ด าเนินการให้มีกิจกรรมการประเมินความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยง
                       ตาม ICH Q9 ในทุกกิจกรรม ทุกระบบของโรงงาน โดยครอบคลุมทั้งกระบวนการผลิต ระบบสนับสนุน

                       ที่มีอยู่เดิม และระบบที่มีการเพิ่ม หรือปรับปรุงแก้ไข ตลอดจนถึงการน าการบริหารความเสี่ยงมาใช้ใน

                       กระบวนการจัดการคุณภาพตลอดช่วงอายุผลิตภัณฑ์ และจัดเตรียมเป็นเอกสารหลักฐาน และก าหนด
                       แผนการลดความเสี่ยง ในกิจกรรม หรือระบบสนับสนุนที่ยังมีความเสี่ยงอยู่ในระดับที่สูงกว่าเกณฑ์ที่

                       ก าหนด

                                        บุคลากรได้เรียนรู้การใช้งานเครื่องมือส าหรับการจัดล าดับความเสี่ยง การ
                       วิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงตามหลักทางวิชาการ เช่น Failure Mode-Effect Analysis (FMEA),

                       Risk Ranking, Risk Filtering เป็นต้น

                              2.  Skills improve related to quality system improvement
                                  ในกระบวนการขอรับรอง WHO PQ นอกจากบุคลากรจะได้รับการพฒนาด้านความรู้
                                                                                            ั
                       ความเชี่ยวชาญในทางวิชาการตามที่ได้กล่าวในข้อ 1 แล้ว บุคลากรยังได้พฒนาทักษะ และ
                                                                                          ั
                       ความสามารถด้านต่าง ๆ ที่สนับสนุนกระบวนการในด้านระบบบริหารจัดการคุณภาพขององค์การ
                       เภสัชกรรม ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดการพฒนาอย่างต่อเนื่องภายในองค์กร ยกตัวอย่าง
                                                                     ั
                       เช่น

                                  2.1  ความสามารถในการเขียนบรรยายเหตุการณ์ การสืบสวนหาสาเหตุ และการแสดง
                       ความเชื่อมโยงของข้อมูลสนับสนุน หรือสร้างความเชื่อมั่นต่อระบบบริหารจัดการคุณภาพ และแสดง

                       ให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการแก้ไขข้อบกพร่อง

                                  2.2  การบริหารเวลาท างานและการจัดแบ่งงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น จากการต้อง
                       บริหารจัดการงานประจ าวัน ให้ด าเนินไปตามแผนการผลิตและการตรวจเคราะห์ปกติ กับการท างาน

                       ในส่วนของการจัดเตรียมข้อมูล หรือการตอบแผนการแก้ไขข้อบกพร่องเพอเสนอต่อหัวหน้าผู้ตรวจ
                                                                                     ื่
                       ประเมิน
                                                                          ั
                                                   ั
                                  2.3  การใช้ภาษาองกฤษ ทั้งในส่วนของการฟง และสื่อสารกับผู้ตรวจประเมินจาก
                       WHO และในส่วนของการสื่อสารกับบุคลากรของบริษัท Mylan ในช่วงของการเรียนรู้กระบวนการ

                       ผลิตยา การหารือ และร่วมระดมสมองในการตอบแผนการแก้ไขข้อบกพร่อง ที่ได้รับจากการตรวจ
                       ประเมิน
   180   181   182   183   184   185   186