Page 182 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 182

Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ           | 164




                              ทักษะและสมรรถนะของบุคลากรที่เพิ่มขึ้น โดยอาจแบ่งเป็นประเภทของการพัฒนาได้ดังนี้
                              1.  การเพมพูนความรู้ (Knowledge gained)
                                       ิ่
                                  การที่องค์การเภสัชกรรมได้ด าเนินโครงการขอรับรอง WHO PQ รายการยา Efavirenz

                       Tablets 600 mg นอกจากเป็นการสร้างความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ขององค์การเภสัชกรรมแล้ว ยัง
                       กล่าวได้ว่ากระบวนการท างาน และการขอรับรองครั้งนี้ส่งผลให้บุคลากรขององค์การเภสัชกรรมได้

                         ิ่
                            ู
                       เพมพนความรู้ทางด้านวิชาการ และมาตรฐานข้อก าหนด ต่าง ๆ ตาม WHO guideline รวมถึง
                       Guideline อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งสามารถยกตัวอย่างให้ได้เห็นภาพชัดเจนขึ้น ดังนี้
                                  1.1  Good Data and Record Management (Data Integrity)

                                        ความถูกต้อง และครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมูล ตลอดวงจรชีวิตของข้อมูล การ

                       จัดท าเอกสาร และการบันทึกข้อมูลทุกชนิดทั้งรูปแบบอเล็กทรอนิกส์ และบันทึกด้วยมือ ต้องมีความ
                                                                     ิ
                       สอดคล้องตามคุณลักษณะที่ดีของข้อมูล ตามหลัก ALCOA
                                                                      +
                                        Attributable – สามารถระบุตัวตนของผู้ปฏิบัติงาน/ผู้บันทึก

                                        Legible – สามารถอ่านออก และเข้าใจได้โดยบุคคลอื่น
                                        Contemporaneous – บันทึกทันทีที่ปฏิบัติงาน

                                        Original – เป็นต้นฉบับ สามารถสืบย้อนถึงข้อมูลต้นฉบับได้

                                        Accuracy – มีความถูกต้อง เชื่อถือได้
                                        ไม่ว่าจะเป็นเอกสารบันทึก การปฏิบัติงาน บันทึกการผลิต ข้อมูลการวิเคราะห์

                       คุณภาพ ต้องค านึงความครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมูล

                                                                   ิ
                                        หากมีการจัดท าข้อมูลในรูปแบบอเล็กทรอนิกส์ ต้องมีการตรวจสอบย้อนกลับถึง
                       ข้อมูลต้นฉบับได้ มีการจัดเก็บข้อมูลต้นฉบับและส ารองข้อมูลเป็นประจ า มีการก าหนดสิทธิ การเข้าถึง

                       ข้อมูล และการป้องกันการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล ซึ่งอาจน าไปสู่การปลอมแปลงข้อมูลได้

                                        ประเด็นส าคัญที่ผู้ตรวจประเมินเน้นย้ าในการตรวจประเมินสถานที่ผลิตยาทั้ง 2
                       รอบ คือส่วนของเครื่องมือวิเคราะห์ ในห้องปฏิบัติการควบคุมคุณภาพ (QC) หากสามารถปรับเปลี่ยน

                       รูปแบบการควบคุม และบริหารจัดการเครื่องมือวิเคราะห์ให้เข้าสู่รูปแบบเชื่อมต่อเข้าสู่เน็ตเวิร์กกลาง

                       โดยเฉพาะเครื่องหลักอย่าง HPLC, GC โดยให้มีการบริหารจัดการความปลอดภัยของข้อมูลและระบบ
                       โดยผู้ดูแลระบบ (admin) ที่ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียในห้องปฏิบัติการ มีการควบคุมสิทธิการแก้ไขข้อมูล

                       การปรับเปลี่ยนเวลาของเครื่อง หรือเวลาของเครื่องแม่ข่าย (server) เพอให้ข้อมูลที่จัดเก็บและ
                                                                                     ื่
                       น าเสนอมีความเป็นต้นฉบับ และปลอดภัยจากการถูกปลอมแปลง หากยังไม่สามารถเชื่อมต่อ
                       เครื่องมือวิเคราะห์ผ่านเน็ตเวิร์ก ต้องมีวิธีการบริหารจัดการเครื่องมือวิเคราะห์เหล่านั้น เช่น การจัดท า

                       เอกสารก าหนด ชื่อผู้ใช้ และสิทธิการเข้าถึงของแต่ละผู้ใช้งาน ของทุกเครื่องมือ ต้องมีการลงชื่อเข้าใช้
                       งานที่สามารถระบุตัวตนผู้ใช้งานได้ ตั้งแต่ระดับเครื่องคอมพวเตอร์ และระดับโปรแกรมควบคุม
                                                                           ิ
   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186