Page 177 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 177

บทที่ 6 ผลการศึกษาและอภิปรายผล ส่วนที่ 3: แนวปฏิบัติในการผลิตยาเพื่อรับการรับรอง WHO PQ                        | 159





                                                                                             ี
                       สรุปข้อมูลการสัมภาษณ์ ผู้ปฏิบัติงานที่มีส่วนร่วมในการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยและการขอรับ
                                      รอง WHO PQ รายการยา EFAVIRENZ TABLETS 600 MG

                                                   วันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

                                            ณ องค์การเภสัชกรรม (โรงงานผลิตยารังสิต 1)
                         ประเด็นที่พบว่าผู้ตรวจประเมิน WHO ให้ความส าคัญ

                           o  ระบบการฝึกอบรม และประสิทธิภาพการฝึกอบรม

                           o  ระบบบริหารจัดการคุณภาพ การบังคับใช้ระบบบริหารจัดการคุณภาพ การสืบสวนหา
                               สาเหตุที่แท้จริงของปัญหา รายละเอยดของเหตุการณ์รายงานในระบบคุณภาพ (Quality
                                                              ี
                               Event) ทั้งในด้านจ านวน และการวิเคราะห์ประเภท หรือแนวโน้มของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

                               และที่ส าคัญคือการจัดการเหตุการณ์และผลิตภัณฑ์ที่ได้รับผลกระทบ
                           o  Data Integrity, สิทธิการเข้าถึงข้อมูล ของบุคลากรแต่ละระดับ, การควบคุมการแก้ไข

                               เปลี่ยนแปลงข้อมูล ต้องมีการบันทึกและสามารถสืบย้อนกลับได้

                                                                      ื่
                           o  วันที่ตรวจประเมิน ต้องมีการปฏิบัติงานจริง เพอให้ผู้ตรวจสามารถสอบทานการปฏิบัติการ
                               และประเมินความสอดคล้องของวิธีการปฏิบัติกับเอกสารที่ก าหนดไว้

                           o  การท ากิจกรรมของการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ ต้องเป็นไปตามล าดับ เริ่มจากการจัดท า

                               Analytical Method Validation/Verification ก่อนเริ่มท าการวิเคราะห์ในงานประจ า
                               (routine testing) ทั้งส่วนของวัตถุดิบตัวยาส าคัญ, ผลิตภัณฑ์ระหว่างกระบวนการผลิต

                               และผลิตภัณฑ์ยาส าเร็จรูป (ต้องวางแผนให้สอดคล้องกับ timeline ของการยื่นขอรับรอง)

                           o  การตรวจประเมินโดยผู้ตรวจประเมิน อย. มักเน้นความสะอาดของสถานที่ปฏิบัติงาน, ป้าย
                               ชี้บ่งสถานะ, การบันทึกเอกสาร (เน้นที่หน้างาน ที่ได้พบในขณะตรวจ)   ผู้ตรวจ WHO

                               มุ่งเน้นการเชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้ตรวจพบ และไปถึงเอกสารที่เกี่ยวข้องทั้งหมด บันทึกต่าง ๆ

                               ทั้งในหน่วยงานที่ตรวจประเมิน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือรับข้อมูลต่อ  ผู้ตรวจเริ่มจาก
                               การตรวจเอกสาร และระบบการปฏิบัติงานของทั้งองค์กร ให้เข้าใจระบบก่อน แล้วจึง

                               ตรวจสอบการปฏิบัติงานจริงของพนักงานว่าสอดคล้องตามที่ก าหนดในเอกสารหรือไม่

                           o  การตรวจประเมินโดย WHO มุ่งเน้นให้ผู้ปฏิบัติงานจริง (พนักงาน และเภสัชกรที่ปฏิบัติงาน
                               หน้างาน) เป็นผู้ตอบค าถาม และอธิบายขั้นตอนการปฏิบัติงาน, ภาษาองกฤษ อาจเป็น
                                                                                             ั
                               อปสรรคอยู่บ้างในการอธิบายบางเรื่องที่ค่อนข้างจ าเพาะ (30%) แต่ประเด็นที่มีผลหลักอยู่
                                ุ
                               ที่ความถูกต้องในการปฏิบัติงาน (70%) ที่ผ่านมา อย.ไทย ไม่บังคับว่าใครเป็นผู้ตอบ
                           o  ด้านอาคารสถานที่ ระบบสนับสนุนการผลิต และเครื่องจักรในการผลิต ความเข้มข้น ของ

                               การตรวจประเมินขึ้นกับความเชี่ยวชาญของผู้ตรวจ โดยผู้ตรวจ WHO จะให้ความส าคัญ
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182