Page 43 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
P. 43
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
ั
การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาการพฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ
ึ
วัฒนธรรม เรื่อง มารยาทชาวพุทธ ของนักเรียนชั้นมัธยมศกษาปีที่ 3 โรงเรียนวีรศิลป์ โดยใช้การเรียน
การสอนแบบกลุ่มร่วมมือ เทคนิค STAD วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผู้วิจัยจึง
สามารถสรุป อภิปรายผล และให้ข้อเสนอแนะดังนี้
สรุปผลการวิจัย
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง มารยาทชาวพทธ
ุ
หลังสูงกว่าก่อนการเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD
ุ
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง มารยาทชาวพทธ
หลังการเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD สูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 70
อภิปรายผลการวิจัย
1. ผลการวิจัยพบว่านักเรียนทั้ง 30 คน มีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน เท่ากับ 12.86 มีคะแนน
เฉลี่ยหลังเรียน เท่ากับ 21.40 แสดงให้เห็นว่า นักเรียนมีคะแนนทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม เรื่อง มารยาทชาวพทธ หลังสูงกว่าก่อนเรียน อาจเนื่องมาจากการสอนด้วยวิธีแบบ
ุ
กลุ่มร่วมมือ โดยใช้เทคนิค STAD เป็นการจัดการเรียนรู้โดยใช้ทักษะการท างานเป็นกลุ่ม สมาชิกใน
่
กลุ่มจะประกอบด้วยนักเรียนที่มีความสามารถแตกต่างกน คือ เก่ง ปานกลาง และออน ซึ่งสมาชิกทุก
ั
คนในกลุ่มจะต้องมีส่วนร่วมในการท างานให้ประสบความส าเร็จ โดยนักเรียนแต่ละคนจะต้องพยายาม
ทาความเข้าใจเนื้อหาทุกประเด็น นักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนอยู่ในระดับเก่งจะต้องให้
ความช่วยเหลือสมาชิกในกลุ่มที่มีความสามารถทางการเรียนออนกว่าให้เข้าใจด้วยการชี้แจง อธิบาย
่
ยกตัวอย่างประกอบ เพอให้เกิดการเรียนรู้และสามารถคิดได้ด้วยตนเอง และเป็นกิจกรรมที่เน้นการ
ื่
ท างานกลุ่ม เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แลกเปลี่ยนความคดเห็น ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และการท างาน
ิ
ั
ั
ที่มีเป้าหมายร่วมกน ท าให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มรู้สึกว่าตนเองมีส่วนส าคัญ มีบทบาทเท่าเทียมกน จึงมี
ความรับผิดชอบเพมมากขึ้น เพอให้กลุ่มของตนประสบความส าเร็จตามที่มุ่งหวังไว้ ท าให้สมาชิกใน
ื่
ิ่
กลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ดังที่ วรรณวิศา หนูเจริญ (2544 : บทคัดย่อ) ที่พบว่านักเรียนมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องหน้าที่ชาวพทธและมารยาทชาวพทธสูงกว่ากลุ่มควบคุม และนักเรียนที่
ุ
ุ
สอนด้วยการเรียนแบบร่วมมือกันมีความคิดเห็นว่าการเรียนแบบร่วมมือกันเป็นการจัดการเรียนการ