Page 44 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
P. 44

สอนที่ช่วยให้เกิดความสามัคคี เข้าใจบทเรียนได้ดีขึ้น มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรับผิดชอบต่อ
                                                       ั
                                                                  ั
                       ตนเองและต่อกลุ่ม มีการช่วยเหลือซึ่งกนและกันรับฟงความคิดเห็นของผู้อื่น อารยา กล้าหาญ (2545
                       : บทคัดย่อ) ที่พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการสอนด้วยวิธีสอนแบบร่วมมือกัน

                       เรียนรู้มีผลสัมฤทธิ์สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนด้วยวิธีสอนตามครูมือครู นักเรียนที่ได้การสอนด้วย
                       วิธีการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้มีทักษะการท างานกลุ่มทั้ง 4 ด้าน คือการสร้างความคุ้นเคยไว้ว่างใจ

                                        ู
                       ซึ่งกันและกัน การพดจาสื่อสาร สื่อความหมาย การช่วยเหลือสนับสนุนให้ก าลังใจ ยกย่อง ชมเชย
                       และการขจัดความขัดแย้ง สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนตามคู่มือครู
                                2. จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง มารยาทชาว

                       พุทธ หลังการเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมอโดยใช้เทคนิค STAD สูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 70
                                                                   ื
                       พบว่านักเรียนทั้ง 30 คน มีคะแนนหลังเรียนไปเทียบกับเกณฑ์ พบว่า มีนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ จ านวน
                       18 คน คิดเป็นร้อยละ 60 มีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ จ านวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 40 อาจ

                       เนื่องมาจากการสอนด้วยวิธีแบบกลุ่มร่วมมือ โดยใช้เทคนิค STAD นอกจากจะมีการสอนโดยใช้

                       กิจกรรมกลุ่มย่อย และน าคะแนนของสมาชิกแต่ละคนในกลุ่มมาค านวณเป็นคะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม
                       แล้ว การเสริมแรงก็เป็นอกส่วนหนึ่งที่กระตุ้นให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นที่จะทาให้ผลสัมฤทธิ์
                                            ี
                       ทางการเรียนสูงขึ้น การจัดกิจกรรมการสอนด้วยวิธีแบบกลุ่มร่วมมือ โดยใช้เทคนิค STAD ในแต่ละ

                                                                  ื่
                       บทเรียนนั้น นักเรียนแต่ละกลุ่มจะได้ฝึกฝนทักษะเพอให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ด้วยการท าใบ
                       งาน การตรวจค าตอบ ท าให้นักเรียนเห็นถึงความก้าวหน้าของตนเองและกลุ่มอย่างขัดเจนรวดเร็ว

                       นับว่าเป็นการเสริมแรงทางบวกที่ท าให้เกิดความกระตือรือร้นในการเรียนมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ผู้วิจัย

                       ยังได้เสริมแรงในลักษณะของการให้รางวัล การให้ค าชมเชย การให้ก าลังใจ ซึ่งจะส่งผลให้นักเรียนที่
                                                                      ื่
                       ได้รับคะแนนสูงมีความขยัน เอาใจใส่การเรียนมากขึ้น เพอรักษาระดับคะแนนของตน ส่วนนักเรียนที่
                       ได้คะแนนต่ าก็จะตั้งใจเรียนและพยายามท าคะแนนให้สูงขึ้นกว่าเดิม  ดังที่ ภาวศุทธิ ยศธร (2543 :

                       บทคัดย่อ) ได้พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ตามวิธี STAD ด้วย
                       บทเรียนเล่มเล็กในวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และการพฒนาผลสัมฤทธิ์
                                                                                            ั
                       ทางการเรียนการสอน พบว่า นักเรียนที่ได้รับการสอนตามรูปแบบดังกล่าวมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

                       สูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนดไว้คือ ร้อยละ 70 และนักเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้น มีความ
                       รับผิดชอบต่อตนเองและกลุ่ม รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49