Page 7 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระสุขศึกษา
P. 7
7
6.3 เนื้อหาที่ศึกษา
สมรรถภาพทางกายทางด้านความคล่องแคล่วว่องไว
6.4 ระยะเวลาที่ศึกษา
ด าเนินการในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โดยใช้เวลาหลังเลิกเรียน (16.00-17.00 น.)
เป็นเวลา 4 สัปดาห์
7. ค าจัดความที่ใช้ในการวิจัย
7.1 โปรแกรมการฝึกวิ่งรูปแบบตัว X และรูปแบบตัว M หมายถึง แบบฝึกที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยมี
ื่
การฝึกเป็นช่วง โดยแบ่งกลุ่มทดลองออกเป็น 2 กลุ่มย่อย เพอท าการฝึกวิ่งโปรแกรมการฝึกวิ่งรูปแบบตัว
X และรูปแบบตัว M
7.2 กลุ่มทดลอง หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 ปีการศึกษา 2562 ที่มีผลการทดสอบ
สมรรถภาพทางด้านความคล่องแคล่วว่องไวต่ ากว่าเกณฑ์
8. ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย
8.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนวีรศิลป์ ท่าม่วง กาญจนบุรี สามารถพัฒนาความ
แคล่วคล่องว่องไวของตนเองได้
8.2 ได้โปรแกรมการฝึก ที่สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาความคล่องแคล่วว่องไว
8.3 การวิจัยในครั้งนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับการสร้างโปรแกรมการ
ออกก าลังกายส าหรับผู้ที่สนใจ
9. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยตามล าดับดังนี้
เอกสารและแนวทางในการสร้างโปรแกรมการฝึก
หลักในการสร้างโปรแกรมการฝึก
ขั้นตอนในการน าโปรแกรมการฝึกไปใช้
เอกสารและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสมรรถภาพทางกาย
ความหมายและองค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย
10. วิธีด าเนินการวิจัย
10.1 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
10.1.1 แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายมาตรฐานระหว่างประเทศ (ICSPFT)
10.1.2 โปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาความคล่องแคล่วว่องไวโดยการวิ่งรูปแบบตัว X และ
การวิ่งรูปแบบตัว M ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
10.2 วิธีการรวบรวมข้อมูล
จากการวางแผนการทดลอง ผู้วิจัยด าเนินการทดลองกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1
โรงเรียนวีรศิลป์ ท่าม่วง กาญจนบุรี ปีการศึกษา 2562 จ านวน 10 คน โดยมีขั้นตอนการด าเนินการ
3 ระยะ ดังนี้
10.2.1 ระยะก่อนการทดลอง
10.2.1.1 วางแผนและสร้างโปรแกรมการฝึก
10.2.1.2 ก าหนดวันเวลาที่จะด าเนินการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
10.2.1.3 แจ้งนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 ของโรงเรียนวีรศิลป์ ท่าม่วง กาญจนบุรี
ทราบถึงวันเวลาที่จะท าการเก็บข้อมูล