Page 9 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระสุขศึกษา
P. 9

9


                          จากตารางที่ 11.1  แสดงให้เห็นผลทดสอบความคล่องแคล่วว่องไวของนักเรียนก่อนการฝึก
                   และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 โดยมีค่าเฉลี่ยเวลาเป็น 13.15 วินาที และ 12.73 วินาที และมีส่วนเบี่ยงเบน
                   มาตรฐานเป็น 0.37 และ 0.44 ตามล าดับ


                   ตารางที่ 11.2  แสดงผลเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความคล่องแคล่วว่องไวก่อนและหลัง
                                   การใช้โปรแกรมการฝึกวิ่งรูปแบบตัว X และรูปแบบตัว M

                        ความคล่องแคล่วว่องไว (วินาที)      X           S.D.         df           t


                      ก่อนการฝึก                         13.15        0.37          9          3.302
                      หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4             12.73        0.44
                   **p<.01

                          จากตารางที่ 11.2 แสดงถึงผลการทดสอบความคล่องแคล่วว่องไวก่อนและหลังการใช้โปรแกรม
                   การฝึกวิ่งรูปแบบตัว  X และรูปแบบตัว M แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับ 0.01
                   12.  สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
                          สรุปผลการวิจัย

                          จากการศึกษาผลการสร้างเสริมความคล่องแคล่วว่องไวโดยใช้โปรแกรมการฝึกวิ่งรูปแบบตัว X
                   และรูปแบบตัว M ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนวีรศิลป์ ท่าม่วง กาญจนบุรี ก่อนและหลัง
                   การใช้โปรแกรมการฝึกวิ่งรูปแบบตัว X และรูปแบบตัว M พบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติที่
                   ระดับ 0.01

                          อภิปรายผล
                          จากการศึกษาผลการสร้างเสริมความคล่องแคล่วว่องไวโดยใช้โปรแกรมการฝึกวิ่งรูปแบบตัว X
                   และรูปแบบตัว M ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนวีรศิลป์ ท่าม่วง กาญจนบุรี ก่อนและหลัง
                   การใช้โปรแกรมการฝึกวิ่งรูปแบบตัว X และรูปแบบตัว M จ านวน 10 คนเป็นเวลา 4 สัปดาห์ พบว่า

                   ความคล่องแคล่วว่องไวของนักเรียนเพมขึ้นโดยหลังการฝึกมีค่าเฉลี่ยดีกว่าก่อนการฝึกแตกต่างกันอย่างมี
                                                   ิ่
                   นัยส าคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับ 0.01 ซึ่งชี้ให้เห็นว่าโปรแกรมการฝึกวิ่งรูปแบบตัว X และรูปแบบตัว M เป็น
                   กิจกรรมหนึ่งที่สามารถพฒนาความความคล่องแคล่วว่องไวได้เป็นอย่างดี ดังที่ ชุมพล  ปานเกตุ
                                         ั
                   (2540, หน้า 167) ได้กล่าวถึงหลักในการฝึกไว้ว่ากระบวนการที่จัดขึ้นอย่างเป็นระบบ ในการเพมระดับ
                                                                                                   ิ่
                   สมรรถภาพโดยใช้ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม สามารถท าให้สมรรถภาพของตนเองสูงขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับ
                   สุเนตร  นวกิจกุล (2524, หน้า 49) ที่กล่าวว่า การฝึกแบบหมุนเวียนเป็นรูปแบบของกิจกรรมการออก
                   ก าลังกายวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้ฝึกมีทักษะ เกิดความสนุกสนาน และสามารถพัฒนาระบบของร่างกายตามที่
                   ต้องการ จึงนับได้ว่าโปรแกรมการฝึกวิ่งรูปแบบตัว X และรูปแบบตัว M เป็นโปรแกรมที่มีความเหมาะสม

                                                               ุ
                   กับผู้เรียนเพราะเป็นกระบวนการที่สะดวก ไม่ต้องใช้อปกรณ์ที่มีราคาแพงและมีขั้นตอนที่ไม่ยุ่งยาก ดังนั้น
                                                                                          ั
                   การใช้โปรแกรมการฝึกวิ่งรูปแบบตัว X และรูปแบบตัว M จึงมีประโยชน์ต่อการพฒนาร่างกายทั้งยัง
                   สามารถพัฒนาความคล่องแคล่วว่องไวได้อย่างแท้จริง

                          นอกจากนี้การเลือกรูปแบบกิจกรรมของการฝึกที่มีความเหมาะสมกับเพศและวัย
                   ยังเป็นแนวทางในการสร้างแรงจูงใจอย่างหนึ่งในการฝึก ท าให้นักเรียนเกิดความรู้สึกที่ท้าทาย
                   และมีความพยายามในการฝึกซ้อมเพมขึ้นและเกิดความสนุกสนานในการเข้าร่วมกิจกรรม
                                                       ิ่
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14