Page 13 - ระบบการประกันคุณภาพโรงเรียนวีรศิลป์
P. 13
คู่มือระบบการประกันคุณภาพโรงเรียนวีรศิลป์ 9
2. วิธีการประเมิน และการตัดสินระดับคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มีหลักการส าคัญดังนี้
ึ
2.1 ประเมินแบบองครวม (Holistic Assessment) เป็นการประเมินตามบริบทของสถานศกษาท ี่
์
ู่
้
ิ
ั
ุ
่
ิ
ั
แทจริงโดยให้ความสาคญกับข้อมูลเชงคณภาพผนวกกับเชงปริมาณควบคกันไป แตการตดสนคณภาพของ
ุ
ิ
ี่
ึ
้
่
สถานศกษาให้ใชเกณฑ์การให้คะแนนผลงานหรือกระบวนการทไม่แยกสวน หรือแยกองคประกอบในการ
์
ก าหนดคะแนนประเมิน แต่เป็นการประเมินในภาพรวมของผลการด าเนินงานหรือกระบวนการด าเนินงาน
ี่
ิ
้
2.2 ประเมินและตดสนผลโดยอาศยความเชยวชาญ (Expert Judgment) ผประเมินตองเป็นผมี
ั
ั
ู้
ู้
ความเชี่ยวชาญสามารถชี้ร่องรอยที่สะท้อนศักยภาพของสิ่งที่จะประเมินเฉพาะทจาเป็นและสามารถตรวจสอบ
ี่
้
ผลการประเมินไดตามสภาพบริบทของสถานศกษา แลวน าผลทไดมาเทยบกับเกณฑ์คณภาพทสถานศกษา
ี่
้
ี่
ี
ึ
ึ
ุ
้
ก าหนดไว้
ี
ั
2.3 ตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินในระดบเดยวกัน (Peer Review) เป็นการ
ุ่
ู้
ู่
็
ี่
ั
ิ
ั
ตดสนผลโดยผประเมินเป็นค หรือผประเมินเป็นกลมเลก ๆ ทาหน้าทร่วมกันพิจารณาตดสนผลการประเมิน
ู้
ิ
แบบองค์รวมเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐานที่ก าหนด
ิ
ึ
ี่
ิ
ั
ั
2.4 ประเมินจากหลกฐานเชงประจกษ์ทเกิดจากการปฏิบัตงานตามสภาพจริงของสถานศกษา
ี่
(Evidence Based) ที่เป็นได้ทั้งงานเอกสาร และไม่ใช่เอกสาร โดยเลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลทเหมาะสาม
และสะท้อนคุณภาพการด าเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาได้อย่างชัดเจนและมีเป้าหมายการ
่
ประเมินเพื่อการพัฒนา ลดภาระการจัดเก็บข้อมูล และเอกสารที่ไม่จ าเป็นในการประเมินแตข้อมูลตองมีความ
้
น่าเชื่อถือ และสามารถตรวจสอบผลการประเมินได้ตามสภาพบริบทของสถานศึกษา
ึ
3. คณะกรรมการที่ท าหน้าที่การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา จะต้องศึกษามาตรฐานการศกษา
่
ุ
็
้
คาเป้าหมายความสาเร็จ เกณฑ์คณภาพหรือประเดนพิจารณาทก าหนดให้เข้าใจถ่องแทก่อนดาเนินการ
ี่
ประเมินคณภาพภายในสถานศกษาของตน หลงประเมินให้แจงผลการประเมินและให้ข้อเสนอแนะในการ
ึ
้
ั
ุ
ปรับปรุง/พัฒนาคุณภาพการศึกษาแต่คณะครู บุคลากร และผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสรุปและเขียนรายงานผลการ
ประเมิน (SAR)