Page 23 - การบูรณาการคุณค่าพระวรสาร
P. 23
8. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 9. สื่อการเรียนรู้ / 10. การวัดและ
แหล่งการเรียนรู้ ประเมินผล การเรียนรู้ /
หมายเหตุ
คาบที่ 1
(คุณค่าพระวรสาร ข้อ3 การไตร่ตรอง)
ขั้นที่ 1 รวบรวมข้อมูล
1. นักเรียนเตรียมเกลือใส่ในกระปุก จากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่ม -ค าถาม -สังเกตการตอบค าถาม
ท าน้ าเกลือโดยจะใช้เกลือและน้ าปริมาณเท่าใดก็ได้ จากนั้นตอบ -แบบเรียน ของนักเรียนในชั้นเรียน
ค าถาม ดังนี้ -แบบฝึกหัด -ความถูกต้องของ
1.1 น้ าเกลือที่ได้แต่ละกลุ่มมีความเข้มข้นเท่ากันหรือไม่ แบบฝึกหัด
ทราบได้อย่างไร (ไม่เท่ากัน
ทราบได้จากการชิม เค็มไม่เท่ากัน)
1.2 นักเรียนสามารถบอกความเข้มข้นของน้ าเกลือใน
กลุ่มตัวเองไดหรือไม่ อย่างไร
้
1.3 ความเข้มข้นของสารละลายหมายความว่าอย่างไร
ขั้นที่ 2 คิดวิเคราะห์และสรุปความรู้
นักเรียนแต่ละคนร่วมกันอภิปรายและสืบค้นความหมายของ
ความเข้มข้นของสารละลาย สารละลายเข้มข้น สารละลายเจือจาง
และสารละลายอิ่มตัว
ขั้นที่ 3 ปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ
1. นักเรียนแต่ละคนน าเสนอความหมายของความเข้มข้นของ
สารละลาย สารละลายเข้มข้น สารละลายเจือจาง และสารละลาย
อิ่มตัว หน้าชั้นเรียน เพื่อเปรียบเทียบและตรวจสอบความถูกต้อง
2. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป จากนั้นครูอธิบายวิธีการ
ค านวณหาความเข้มข้นของสารละลาย 3 วิธี คือ ร้อยละโดยมวลต่อ
ปริมาตร ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตรและร้อยละโดยมวลต่อมวล
พร้อมทั้งยกตัวอย่างการค านวณ ให้นักเรียนร่วมกันคิดพร้อม ๆ กับครู
บนกระดานหน้าชั้นเรียนจนนักเรียนทุกคนเข้าใจ
3. นักเรียนแต่ละคนฝึกค านวณด้วยตัวเองโดยใช้โจทย์ ดังนี้
1) ถ้าน าน้ าตาลทรายมา 40 กรัม ละลายในน้ าให้เป็น
3
สารละลาย 200 cm สารละลายนี้มีความเข้มข้นร้อยละเท่าใด
3
(สารละลายน้ าเชื่อม 200 cm มีน้ าตาลทราย
ละลายอยู่ 40 กรัม