Page 156 - หลักสูตรนักบริหารมหานครระดับกลาง รุ่นที่ 26...
P. 156

144












                                              จุดแข็ง                                  จุดอ่อน
                              S.1 ผู้ตรวจสอบภายในได้เข้ารับการฝึกอบรม  W.๑ ผู้ตรวจสอบภายในโดยสว่นใหญ่ (มากกว่า
                              สัมมนา และศึกษาดูงานในหลักสูตรหรือหัวข้อ ร้อยละ ๕๐) มีวุฒิการศึกษาทางด้านบัญชี
                              ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพอย่างต่อเนื่องทุกปี  การเงิน และการบริหารธุรกิจ จึงมีความ

                              จึงทำให้มี ความรู้ ความชำนาญและเชี่ยวชาญ  ชำนาญหรือ เชี่ยวชาญเฉพาะด้านดังกล่าว
                              ในหลากหลาย สาขาวิชาที่เกยวข้อง เช่น การ  ในขณะที่ การ ดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร
                                                     ี่
                              ตรวจสอบภายใน การ บริหารความเสี่ยง การ   และหน่วยรับตรวจ มีภารกิจด้านอื่น ๆ ที่
                              ควบคุมภายใน การบัญชี การเงิน การคลังและ หลากหลาย เช่น ด้าน การแพทย์ ด้านการโยธา

                              งบประมาณ กฎหมายและ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง ด้านการบริหารการศึกษา ฯลฯ ทำให้ผู้ตรวจ
                              กับการดำเนินงานด้านต่าง ๆ ของ           สอบภายในไม่สามารถตรวจสอบ งานประเภท
                              กรุงเทพมหานคร ฯลฯ    S.2 สำนักงาน       อื่น ๆ ดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิผล เท่าที่ควร
                              ตรวจสอบภายในได้จัดกิจกรรม แลกเปลี่ยน    W.๒  เมื่อผู้ตรวจสอบภายในจะตรวจสอบงาน

                              เรียนรู้หรือแบ่งปันองค์ความรู้ (Knowledge   หรือ โครงการที่ตนเองไม่มีความรู้ความชำนาญ
                              Management) ระหว่างผู้ตรวจสอบ ภายใน     เช่น งาน ด้านการแพทย์ งานด้านการโยธา
                           ปัจจัยภายใน   อย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี เพื่อให้มีความรู้  (ก่อสร้าง) งาน ด้านการบริหารการศึกษา ฯลฯ

                              ความชำนาญและเชี่ยวชาญในงานที่ตรวจสอบ  อาจจะต้องเชิญ ผู้เชี่ยวชาญด้านดังกล่าวมาร่วม
                              S.3 สำนักงานตรวจสอบภายในมีเป้าหมาย
                                                                      ปฏิบัติงานตรวจสอบ ซึ่งทำให้เกิดความล่าช้า
                              ชัดเจนที่ จะพัฒนาการปฏิบัติงานให้เป็นไป  ไม่คล่องตัว W.๓  จำนวนของผู้ตรวจสอบ
                              ตามมาตรฐานสากล ของวิชาชีพ เพื่อให้เกิด  ภายในมีเพียง ๕๐ อัตราเท่านั้น ในขณะที่มี
                                       ์
                              ภาพลักษณที่น่าเชื่อถือและ ได้รับการยอมรับ  หน่วยรับตรวจจำนวน มากกว่า ๗๐๐ แห่ง จึง
                              จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง S.4   ทำให้ไม่สามารถตรวจสอบ หน่วยงานดังกล่าว
                              สำนักงานตรวจสอบภายในจัดโครงสร้าง        ได้อย่างครอบคลุมทุกแห่งภายใน ระยะเวลา ๑
                              องค์กร ด้วยการแบ่งกลุ่มงานตรวจสอบตาม    ปี W.4  สำนักงานตรวจสอบภายในยังไม ่

                              กลุ่มภารกิจของ หน่วยรับตรวจ จึงทำให้เกิด  สามารถ ปฏิบัติตามมาตรฐานสากลของวิชาชีพ
                              ความเชี่ยวชาญเฉพาะ ด้านในการปฏิบัติงาน  ฯ ได้ในระดับ ที่ผู้ประเมินจากหน่วยงาน
                              ตรวจสอบ และมีกลุ่มงานที่ ทำหน้าที่ในการ  ภายนอกจะให้ “ผ่าน” หรือ “ปฏิบัติตาม
                              พัฒนางานตรวจสอบภายในเป็นการ เฉพาะ       มาตรฐาน” (Conformance)  โดยเฉพาะอย่าง

                                                                      ยิ่งมาตรฐานด้านคุณสมบัติที่ยังไม่มี ความเป็น
                                                                      อิสระและมาตรฐานด้านการปฏิบัติงานใน บาง
                                                                      เรื่อง
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161