Page 172 - หลักสูตรนักบริหารมหานครระดับกลาง รุ่นที่ 26...
P. 172

160






                              - กรณีศึกษาสำหรับงานตรวจสอบแบบมีส่วนร่วมของประชาชน คือ การตรวจสอบการ
                       จัดการ ปัญหาน้ำท่วม  การจัดการขยะ สิทธิการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
                              - ปัจจัยความสำเร็จ คือ การเสริมสร้างความเชื่อมั่นและการแบ่งปันข้อมูลสารสนเทศระหว่าง

                       กัน รวมทั้งการเสริมสร้างความยั่งยืนในกระบวน

                       ๓. วัตถุประสงค์
                              3.1 เพื่อเสริมสร้างธรรมมาภิบาลให้กรุงเทพมหานคร

                              3.2 เพื่อเสริมสร้างความโปร่งใสในการดำเนินการด้านต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร
                              3.3 เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับกรุงเทพมหานคร


                        ๔. เป้าหมาย
                              4.1 กรุงเทพมหานครมีภาพลักษณ์องค์กรอยู่ในระดับดี

                                                     ึ
                              4.2 ประชาชนมีระดับความพงพอใจต่อการบริการของกรุงเทพมหานคเพิ่มสูงขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา
                                                                 ื่
                              4.3 กรุงเทพมหานครมีระบบสารสนเทศเพอเป็นช่องทางให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการ
                       ตรวจสอบ ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

                              4.4 กรุงเทพมหานครมีรูปแบบและแผนการตรวจสอบภายในแบบมีส่วนร่วมจากภาค
                       ประชาชน         เพื่อดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

                                                      ั
                                                                                                    ั
                              4.5 จำนวนหนว่ยงานในสังกดกรุงเทพมหานครผู้รับตรวจสามารถปรับปรุงแก้ไขหรือพฒนา
                       งานตาม ข้อเสนอแนะของสำนักงานตรวจสอบภายในไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
                       ๕. แนวทางการพัฒนา

                              5.1 การพัฒนาระบบสารสนเทศการตรวจสอบแบบมีส่วนร่วมจากภาคประชาชน (We Hear You)
                                     5.1.1 การออกแบบระบบสารสนเทศการตรวจสอบ ฯ

                                            1) ระบบการจัดเก็บขอมูลผู้เข้าใช้งาน  ประกอบด้วย
                                                              ้
                                                   - ข้อมูลทั่วไปของประชาชนผู้เข้าใช้งานระบบ เช่น ชื่อ – สกุล

                       หมายเลขบัตร ประชาชน เบอร์โทรศัพท์  E – mail Address ฯลฯ
                                                   - ประเด็นที่ประชาชนต้องระบุ เพื่อแสดงความต้องการ ได้แก่

                       ประเภทของ ภารกิจ ชื่อของงาน โครงการ หรือกิจกรรม สถานที่ตั้ง ประเด็นปัญหาหรือความต้องการ
                       ในการพัฒนาเบื้องต้น
                                                   - เกณฑ์ทใช้ประเมินระดับความสำคัญของงานหรือโครงการ (High
                                                           ี่
                       Impact, High Value) ที่ประชาชนต้องระบุเบื้องต้น เพื่อใช้ประกอบการประมวลผลอีกครั้ง เช่น เป็น
                       ประเด็นที่ส่งผลต่อ การดำเนินชีวิตประจำวันของประชาชนส่วนใหญ่  ใช้งบประมาณจำนวนมากใน

                       การดำเนินการและง่ายต่อการคอร์รัปชั่น เป็นกิจกรรมหรือโครงการที่ส่งผลกระทบเชิงภูมิศาสตร์หรือ
                       ประชากรศาสตร์ เป็นกิจกรรมหรือ โครงการที่มีความเสี่ยงต่อความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สินของ

                       ประชาชน หรืออาจจะก่อให้เกิดความขัดแย้ง ระหว่างกลุ่มประชาชนได้ หรือเป็นกิจกรรมหรือ
                       โครงการที่ประชาชนคาดหวังว่าจะยกระดับการดำเนินชีวิต เป็นต้น
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177